assignment
บันทึกกิจกรรม
อภิปรายโครงงานสมบูรณ์จากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม/ปิดโครงการ2 เมษายน 2566
2
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อภิปรายโครงงานสมบูรณ์จากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม ประเด็นหัวข้อของแต่ละกลุ่มจากการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมาบูรณาการร่วมกับอุปกรณ์ในสถานประกอบการ ในรูปแบบชิ้นงานสมบูรณ์

รูปแบบการเรียนการสอน:
- อภิปรายโจทย์โครงงานสมบูรณ์จากการทำ Project Based

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: - ทักษะการทำงานเป็นทีม - การแก้ปัญหาและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ - ทักษะการสื่อสาร - การบูรณาการเครื่องมือทางด้าน IoT

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ต้นแบบจำลอง แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่ม Solar Rooftop  -  โครงงาน cleaner and surge monitoring (ติดตั้งต้นแบบจำลองในสถานประกอบการ) กลุ่ม บริษัท CNI  -  โครงงาน Counting Systems on Conveyor and Dashboard (ติดตั้งต้นแบบจำลองในสถานประกอบการ) ที่ บริษัท ซีเอ็นไอ เอ็นจิเนียริ่ง ซัพพลาย กลุ่ม บริษัท SPS  -  โครงงาน เครื่องนับชิ้นงานอัตโนมัติ (ติดตั้งต้นแบบจำลองในสถานประกอบการ) ที่ บริษัท เอส.พี.เอส. อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) กลุ่ม สุริยะเทพ ลิมิตเตท  -  โครงงาน ปรับปรุงระบบความปลอดภัยด้วยโซลูชั่น IIOT PLC (ต้นแบบจำลอง) กลุ่ม PIR Motion Sensor  -  โครงงาน PIR Motion Sensor (ต้นแบบจำลอง)

ปฏิบัติงานอยู่ในรูปแบบ Project based ทำร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม โดยทีมโค้ช ของแต่ละกลุ่มให้คำปรึกษา24 มีนาคม 2566
24
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 24 มีนาคม 2566 ถึง 1 เมษายน 2566 รูปแบบการเรียนการสอน : ออนไลน์ โดยมีวิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน ให้คำปรึกษา ปฏิบัติงาน Project based ในสถานประกอบการ และในห้องปฏิบัติการที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เรียนได้นำความรู้มาประยุกค์และบูรณาการโครงงานกับการทำงานในปัจจุบัน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่ม Solar Rooftop  -  โครงงาน cleaner and surge monitoring  โค้ชประจำกลุ่ม ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (หลัก), ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (ร่วม) กลุ่ม สุริยะเทพ ลิมิตเตท  -  โครงงาน ปรับปรุงระบบความปลอดภัยด้วยโซลูชั่น IIOT PLC  (IIOT Project : Fire door exit alarm system) โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม PIR Motion Sensor  -  โครงงาน PIR Motion Sensor โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม บริษัท CNI  -  โครงงาน Counting Systems on Conveyor and Dashboard โค้ชประจำกลุ่ม ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (หลัก), ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (ร่วม) กลุ่ม บริษัท SPS  -  โครงงาน เครื่องนับชิ้นงานอัตโนมัติ โค้ชประจำกลุ่ม ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (หลัก), อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (ร่วม)

อภิปรายความก้าวหน้าโครงงานจากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม19 มีนาคม 2566
19
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

19 มีนาคม 2566 อภิปรายความก้าวหน้าโครงงานจากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม ประเด็นหัวข้อของแต่ละกลุ่มจากการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมา บูรณาการร่วมกับอุปกรณ์ในสถานประกอบการ การนำ IoT มาประยุกต์ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ในสถานประกอบการ หรืออุปกรณ์จำลอง

รูปแบบการเรียนการสอน:
- อภิปรายโจทย์จากหัวข้อโครงงานจากการทำ Project Based

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: - ทักษะการทำงานเป็นทีม - ทักษะการสื่อสาร - การบูรณาการเครื่องมือทางด้าน IoT

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พัฒนาและปรับปรุงโครงงานจากการทำ Project Based หรืออุปกรณ์จำลอง แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่ม Solar Rooftop  -  โครงงาน cleaner and surge monitoring  โค้ชประจำกลุ่ม ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (หลัก), ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (ร่วม) กลุ่ม สุริยะเทพ ลิมิตเตท  -  โครงงาน ปรับปรุงระบบความปลอดภัยด้วยโซลูชั่น IIOT PLC  (IIOT Project : Fire door exit alarm system) โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม PIR Motion Sensor  -  โครงงาน PIR Motion Sensor โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม บริษัท CNI  -  โครงงาน Counting Systems on Conveyor and Dashboard โค้ชประจำกลุ่ม ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (หลัก), ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (ร่วม) กลุ่ม บริษัท SPS  -  โครงงาน เครื่องนับชิ้นงานอัตโนมัติ โค้ชประจำกลุ่ม ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (หลัก), อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (ร่วม)

ปฏิบัติงานอยู่ในรูปแบบ Project based ทำร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม โดยทีมโค้ช ของแต่ละกลุ่มให้คำปรึกษา3 มีนาคม 2566
3
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 3 มีนาคม 2566 ถึง 18 มีนาคม 2566 รูปแบบการเรียนการสอน : ออนไลน์ โดยมีวิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน ให้คำปรึกษา ปฏิบัติงาน Project based ในสถานประกอบการ และในห้องปฏิบัติการที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เรียนได้นำความรู้มาประยุกค์และบูรณาการโครงงานกับการทำงานในปัจจุบัน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่ม Solar Rooftop  -  โครงงาน cleaner and surge monitoring  โค้ชประจำกลุ่ม ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (หลัก), ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (ร่วม) กลุ่ม สุริยะเทพ ลิมิตเตท  -  โครงงาน ปรับปรุงระบบความปลอดภัยด้วยโซลูชั่น IIOT PLC  (IIOT Project : Fire door exit alarm system) โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม PIR Motion Sensor  -  โครงงาน PIR Motion Sensor โค้ชประจำกลุ่ม อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (หลัก), ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (ร่วม) กลุ่ม บริษัท CNI  -  โครงงาน Counting Systems on Conveyor and Dashboard โค้ชประจำกลุ่ม ผศ.ภูมิพัฒน์ ก๋าคำ (หลัก), ดร.อภิชาติ  สังข์ทอง (ร่วม) กลุ่ม บริษัท SPS  -  โครงงาน เครื่องนับชิ้นงานอัตโนมัติ โค้ชประจำกลุ่ม ดร.ฐาปนา นามประดิษฐ์ (หลัก), อ.ลัคนา  เพิ่มพูล (ร่วม)

กำหนดโจทย์โครงงาน ปฏิบัติการโครงงาน และอภิปรายโจทย์จากหัวข้อโครงงานจากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม24 กุมภาพันธ์ 2566
24
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

24 กุมภาพันธ์ 2566 กำหนดโจทย์โครงงานที่ผู้อบรมปฏิบัติงานอยู่ในรูปแบบ Project based ทำร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม โดยทีมโค้ช ของแต่ละกลุ่มให้คำปรึกษา 25 กุมภาพันธ์ 2566 ปฏิบัติการโครงงานจากโจทย์ของผู้อบรมปฏิบัติงานอยู่ในรูปแบบ Project based ทำร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม โดยทีมโค้ช ของแต่ละกลุ่มให้คำปรึกษา 26 กุมภาพันธ์ 2566 อภิปรายโจทย์จากหัวข้อโครงงานจากการทำ Project Based ร่วมกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม ประเด็นหัวข้อของแต่ละกลุ่มจากการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งมา บูรณาการร่วมกับอุปกรณ์ในสถานประกอบการ

รูปแบบการเรียนการสอน:
- ปฏิบัติการในสถานประกอบการณ์ และในมหาวิทยาลัย - ประสานงาน หารือ และส่งงานในไลน์กลุ่ม - แบ่งกลุ่มปฏิบัติการออกเป็น 5 กลุ่ม ตามสถานประกอบการณ์ หรือตามความสนใจ

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
- ผู้เรียนได้หัวข้อโครงงาน Project Based และแบบจำลองโครงงานในมหาวิทยาลัย

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ การเชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่างๆ18 กุมภาพันธ์ 2566
18
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566 - 19 กุมภาพันธ์ 2566 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การเชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่างๆ แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการการเชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่างๆ วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน

รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน - แบ่งกลุ่มกิจกรรม อภิปรายงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เรียนทราบถึงการทำงานการเชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่างๆ
  2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานการเชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่างๆ
  3. ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ และศึกษาจากกรณีศึกษา

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การมองภาพองค์รวม
3. การเข้าใจถึงผลกระทบ
4. ทักษะการอภิปราย
5. การเชื่อมโยงความรู้
6. การสืบค้นข้อมูล
7. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: -ทักษะด้านความรู้ -ทักษะทางปัญญา -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management System: BEMS) เชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่าง ๆ11 กุมภาพันธ์ 2566
11
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ 2566 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management System: BEMS)
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน - อภิปรายงานจากหัวข้อที่ได้รับมอบหมายหรือสนใจที่จะทำ ร่วมกับโค้ชประจำกลุ่มและวิทยากรหลัก

รูปแบบการเรียนการสอน:
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน
- แบ่งกลุ่มกิจกรรม อภิปรายงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management System: BEMS) เชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่าง ๆ 2. ผู้เรียนมีทักษะการใช้เครื่องมือประยุกต์ใช้งานแบบจำลองของระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (Building Energy Management System: BEMS) เชื่อมโยงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและระบบต่าง ๆ 3.ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ และศึกษาจากกรณีศึกษา 4. ผู้เรียนได้หัวข้อโครงงานและหัวข้อที่สนใจมาประยุกต์ใช้งานร่วมกับการเรียนการสอน 5. ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกับเนื้อหา

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การมองภาพองค์รวม
3. การเข้าใจถึงผลกระทบ
4. ทักษะการอภิปราย
5. การเชื่อมโยงความรู้
6. การสืบค้นข้อมูล
7. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบบริหารจัดการพลังงานควบคุมการทำงานประสานกันระหว่างอุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor) สมาร์ทมิเตอร์ (Smart Meter) และระบบควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าอัตโนมัติ (Actuator หรือ Controller)4 กุมภาพันธ์ 2566
4
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 4-5 กุมภาพันธ์ 2566 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบบริหารจัดการพลังงานควบคุมการทำงานประสานกันระหว่างอุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor) สมาร์ทมิเตอร์ (Smart Meter) และระบบควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าอัตโนมัติ (Actuator หรือ Controller)
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ ระบบบริหารจัดการพลังงานควบคุมการทำงานประสานกันระหว่างอุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor) สมาร์ทมิเตอร์ (Smart Meter) และระบบควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าอัตโนมัติ (Actuator หรือ Controller)
วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน นำหัวข้อที่สนใจมาประยุกต์ใช้กับงาน

:: รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: -ทักษะด้านความรู้ -ทักษะทางปัญญา การประยุกต์ใช้งานกับหัวข้อโครงงาน หรืองานที่ได้รับมอบหมาย -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม (Factory Energy Management System: FEMS)28 มกราคม 2566
28
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 28 - 29 ม.ค. 66 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ ระบบการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม (Factory Energy Management System: FEMS)
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ ระบบการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม (Factory Energy Management System: FEMS)
การประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน เตรียมโครงงานเพื่อนำประยุกต์ใช้ร่วมกับสถานประกอบการ หรือกรณีศึกษาตามความสนใจของแต่ละกลุ่ม แบ่งกลุ่มโครงงานออกเป็น 5 กลุ่ม ตามความถนัดและความเหมาะสม ของผู้เรียน หรือตามงานที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการ เตรียมสถานที่ในการให้ฝึกปฏิบัติการทั้งในสถานประกอบการและในสถาบันการศึกษา ....... รูปแบบการเรียนการสอน:
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน - เตรียมหัวข้อโครงงานหรืองานที่สนใจประยุกต์ใช้
- เตรียมช่องทางการให้คำปรึกษาเฉพาะกลุ่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ด้านระบบการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม (Factory Energy Management System: FEMS)
2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม (Factory Energy Management System: FEMS)
3. ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ และศึกษาจากกรณีศึกษา 4. ผู้เรียนได้ทำงานเป็นทีมประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับงานที่ทำและหรือโครงงานประจำกลุ่ม

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การมองภาพองค์รวม
3. การเข้าใจถึงผลกระทบ
4. ทักษะการอภิปราย
5. การเชื่อมโยงความรู้
6. การสืบค้นข้อมูล
7. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS)21 มกราคม 2566
21
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 21 - 22 ม.ค. 66 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS)
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS)
วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน

รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยี  Industrial Internet of Things ในการประมวลผล ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS)
2. ผู้เรียนมีทักษะการใช้เครื่องมือ Industrial Internet of Things ในการประมวลผล ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS)
3.ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ และศึกษาจากกรณีศึกษา

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การมองภาพองค์รวม
3. การเข้าใจถึงผลกระทบ
4. ทักษะการอภิปราย
5. การเชื่อมโยงความรู้
6. การสืบค้นข้อมูล
7. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ IIoT และการประยุกต์ใช้งาน PLC ร่วมกับ IIOT เพื่อควบคุมระบบอัตโนมัติ14 มกราคม 2566
14
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 14 ม.ค. - 15 ม.ค. 66 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ การประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ IIoT และ การประยุกต์ใช้งาน PLC ร่วมกับ IIOT เพื่อควบคุมระบบอัตโนมัติ
แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติการ Practice โดยทีมโค้ช ของแต่ละกลุ่ม แบ่งกลุ่ม ออกเป็น 5 กลุ่มปฏิบัติการ เพื่อค้นหาความต้องการของระบบโครงงาน แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ การประยุกต์ใช้งาน PLC ร่วมกับ IIOT เพื่อควบคุมระบบอัตโนมัติ
วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน

รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: -ทักษะด้านความรู้ -ทักษะทางปัญญา -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การทำงานเป็นทีม ระดมสมอง

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ผล คำนวณผล ที่ตอบสนองแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking)7 มกราคม 2566
7
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 7 - 8 ม.ค. 66 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ผล คำนวณผล ที่ตอบสนองแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking)
แบ่งกลุ่มปฏิบัติงาน ตามใบงาน และกรณีศึกษา แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ ฝึกปฏิบัติการการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ผล คำนวณผล ที่ตอบสนองแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking)
วิทยากรหลัก และมีโค้ชพี่เลี้ยงอาจารย์ภายใน รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์กรณีศึกษา/ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในIndustrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ผล คำนวณผล ที่ตอบสนองแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking) 2. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในการใช้ทำงานร่วมกับIndustrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ผล คำนวณผล ที่ตอบสนองแนวคิดแบบลีน (Lean Thinking)
3.ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลโดยใช้เครื่องมือตามกรณีศึกษา

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
2. การมองภาพองค์รวม
3. การเข้าใจถึงผลกระทบ
4. การเชื่อมโยงความรู้
5. การสืบค้นข้อมูล
6. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล

บรรยายและปฏิบัติการ หัวข้อ ความรู้ OEE และ LEAN AUTOMATION SYSTEM17 ธันวาคม 2565
17
ธันวาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 17 ธ.ค. 66 บรรยาย หัวข้อ ความรู้ OEE AUTOMATION SYSTEM แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการการใช้เครื่องมือการใช้ OEE AUTOMATION SYSTEM กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 18 ธ.ค. 66 บรรยาย หัวข้อ LEAN AUTOMATION SYSTEM แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการการใช้เครื่องมือ LEAN AUTOMATION SYSTEM

รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยี Big Data งานด้านอุตสาหกรรม 2. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในการใช้ทำงานร่วมกับเทคโนโลยี Big Data
3.ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลโดยใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: -ทักษะด้านความรู้ -ทักษะทางปัญญา -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

บรรยาย ปฏิบัติการ และวัดผล หัวข้อ การใช้เทคโนโลยี IIoT ในการประมวลผล และวิเคราะห์ คำนวณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจด้านการผลิตและการวางแผนการผลิต26 พฤศจิกายน 2565
26
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมดำเนินการ วันที่ 26 พ.ย. 66 และวันที่ 27 พ.ย. 66 การบรรยายเชิงปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล หัวข้อ วิเคราะห์ คำนวณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจด้านการผลิตและการวางแผนการผลิต ปฏิบัติการแบ่งกลุ่ม จากอุปกรณ์จริง และจำลอง การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล วิเคราะห์ คำนวณ เพื่อช่วยในการตัดสินใจด้านการผลิตและการวางแผนการผลิต

รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการจากใบงาน วัดจากผลลัพธ์ใบงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์ :
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล 2. ผู้เรียนมีทักษะการประยุกต์ใช้เครื่องมือในการประมวลผล
3. ผู้เรียนวิเคราะห์ คำนวณ โดยใช้เครื่องมือช่วยในการตัดสินใจด้านการผลิดและการวางแผนการผลิต 3.ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ ใบงาน

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
-ทักษะด้านความรู้ -ทักษะทางปัญญา -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เพื่อช่วยในการตัดสินใจด้านการผลิตและการวางแผนการผลิต การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things ในการประมวลผล

บรรยายและปฏิบัติการ การใช้เทคโนโลยี Industrial Internet of Things20 พฤศจิกายน 2565
20
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บรรยายอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ โครงสร้างและส่วนประกอบของ Industrial Internet of Things แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการการใช้เครื่องมือ Industrial Internet of Things
โดยมีโค้ชประจำกลุ่ม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เรียนมีความรู้สามารถการใช้เครื่องมือ Industrial Internet of Things
  • ผู้เรียนมีทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานด้าน IIoT ได้
  • ผู้เรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม
ปฐมนิเทศ/เตรียมความพร้อม บรรยายและปฏิบัติการ แนะนำการจัดการนวัตกรรมองค์กร ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตยุคอุตสาหกรรม 4.019 พฤศจิกายน 2565
19
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กิ่งกาญจน์ กิตติสุนทโรภาศ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงทะเบียน พิธีเปิด / ปฐมนิเทศเตรียมความพร้อมก่อนเรียน กิจกรรมเป็นการบรรยายเชิงปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 section คือ
section 1 ภาคเช้า เน้นภาคบรรยาย บรรยาย หัวข้อ แนะนำการจัดการนวัตกรรมองค์กร ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตยุคอุตสาหกรรม 4.0 section 2 ภาคบ่าย เน้นปฏิบัติการกับอุปกรณ์จำลอง แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการการใช้เครื่องมือ ความรู้พื้นฐานด้านการผลิตยุคอุตสาหกรรม 4.0

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนทราบถึงภาพรวมของอุตสาหกรรม เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ความสำคัญและที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ
2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานด้านการผลิตยุคอุตสาหกรรม 4.0 และการประยุกต์ใช้ข้อมูลในการทำงานและการตัดสินใจ
3. ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัตื และศึกษาจากกรณีศึกษา

ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา:
-  ทักษะการคิดวิเคราะห์
- การมองภาพองค์รวม - การเข้าใจถึงผลกระทบ
- การสืบค้นข้อมูล
- การคิดเชิงระบบ และเหตุผล