หลักสูตรการพัฒนาทักษะการผลิตพืชอาหารและสมุนไพรอินทรีย์

หลักสูตรการพัฒนาทักษะการผลิตพืชอาหารและสมุนไพรอินทรีย์

การพัฒนาทักษะการผลิตพืชอาหารและสมุนไพรอินทรีย์

วัน อาทิตย์ 3 มีนาคม 2567 - อาทิตย์ 3 พฤศจิกายน 2567

หัวข้อ วันเวลาที่จัด สถานที่จัดกิจกรรม ลักษณะกิจกรรม กิจกรรมเปิดโครงการโดยคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 ก.พ. 67 กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมแปดริ้ว (PGS Organic Padriew)  เลขที่ 193/1 หมู่ 3 ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์ 1) ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2567 2) กิจกรรมตลอดโครงการ 3) จัดกลุ่มตามสมัครใจหรือความสนใจคล้ายกันหรือพื้นที่ใกล้กัน  ทำงานร่วมกันได้ง่ายและสะดวก 4 อยู่ร่วมโครงการได้ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ 5) มีพื้นที่หลักของกลุ่มที่ร่วมกันในการทำกิจกรรมหลักของกลุ่ม 6) มีการฝึกปฏิบัติตามโจทย์จากหน่วยทุน ทั้งพืช และสมุนไพร ตลอดเส้นทางการผลิต ตั้งแต่การเตรียมดิน พันธุ์ การจัดการในแปลง การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการวิเคราะห์สารสำคัญ 7) ฐานหลักในการเสริมทรัพยากรหลักด้านชีวภัณฑ์ คือ สวนสิริวัฏ  มีการให้บริการ เชื้อไตโครเดอร์มา  เห็ดเรืองแสง และบางส่วนอาจจะจำหน่าย  เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ 8) ตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ 8.1) อาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มจากมหาวิทยาลัยฯ จะลงพื้นที่ให้การปรึกษา แนะนำ ร่วมเรียนรู้และติดตามตามโจทย์ที่จะต้องประเมิน 8.2) วิทยากรส่วนกลางจะประสานแต่ละกลุ่มและมีการเยี่ยมเยือนกลุ่มต่างๆ แบบเย้า – เยือน เพื่อให้มีการนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนกับกลุ่มสมาชิกในโครงการ 8.3) ดึงการปฏิบัติที่ดีของแต่ละกลุ่มที่ทำแล้วเป็นผลที่เกิดในทางบวก ที่อยากจะเล่าเรื่องให้เพื่อสมาชิกได้ฟังและร่วมกันแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน 8.4) เนื้อหา ทฤษฎี ที่ของหลักสูตรช่วยเสริมความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ จะเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการตลอดระยเวลาการดำเนินโครงการ

1) การผลิตผักในระบบอินทรีย์ 1.1) หลักการผลิตผักในระบบเกษตรอินทรีย์  17 ก.พ. 67 กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมแปดริ้ว เลขที่ 193/1 หมู่ 3 ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 1) การบรรยายประกอบการสาธิต
2)การยกตัวอย่างการปฏิบัติจริง 3) การยกตัวอย่างกรณีศึกษาประกอบการบรรยาย 4) การอภิปรายและแลกเปลี่ยน
1.2) การจัดการพื้นที่และระบบการปลูกผักในระบบอินทรีย์ 18, 21 และ 28 ก.พ. 67 2 และ 3 มี.ค. 67 1) กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม  แปดริ้ว เลขที่ 193/1 หมู่ 3 ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) ที่บ้านของผู้เรียนทั้ง 40 ราย ที่ปฎิบัติการปลูกผักตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บางคล้า 1) ฝึกปฏิบัติการเตรียมพื้นที่เพื่อให้พร้อมในการจะดำเนินการปลูกผักชนิดต่างๆ ตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 2) ฝึกปฏิบัติการเตรียมดินโดยเริ่มต้นตั้งแต่การปรุงดินเพื่อเป็นฐานเริ่มต้นในกระบวนการผลิตตามระบบอินทรีย์ 3) คณะอาจารย์ลงพื้นที่บ้านของผู้เข้ารับการจัดกิจกรรมทั้ง 40 รายเพื่อประเมินการปฏิบัติกิจกรรมการจัดการพื้นที่และระบบการปลูกผักในระบบอินทรีย์ และ การจัดการปัจจัยการผลิตผักในระบบอินทรีย์ 1.3) การจัดการปัจจัยการผลิตผักในระบบอินทรีย์ 6, 9, 3, 16,17, 20, 23 มี.ค. 67
1.4) การจัดการผักหลังการเก็บเกี่ยว 24, 28, 29 และ 30
มี.ค. 67 1) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลไม้แช่อิ่มสดตามฤดูกาล เลขที่ 130/13 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าทองหลาง อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) ที่บ้านของผู้เรียนทั้ง 40 ราย ที่ปฎิบัติการปลูกผักตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 1) ฝึกปฏิบัติการแปรรูปผักเพื่อเพิ่มมูลค่า 2) ฝึกปฏิบัติการแปรรูปสมุนไพรเป็นอาหารแทนการทานยา 3) ฝึกปฏิบัติการบรรจุผักในบรรจุภัณฑ์ต่างๆ เพื่อให้พร้อมต่อการจำหน่าย 2) การผลิตสมุนไพรในระบบอินทรีย์ 2.1) หลักการผลิตสมุนไพรตามมาตรฐานสมุนไพรอินทรีย์ไทย 1, 3, 5, 10, 19, 20 และ 22 เม.ย. 67 1) กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม  แปดริ้ว เลขที่ 193/1 หมู่ 3 ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) ที่บ้านของผู้เรียนทั้ง 40 รายที่ปฎิบัติการปลูกสมุนไพรตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บางคล้า 1) การบรรยายประกอบการสาธิต
2) การยกตัวอย่างการปฏิบัติจริง 3) การยกตัวอย่างกรณีศึกษาประกอบการบรรยาย 4) การอภิปรายและแลกเปลี่ยน
2.2) การจัดการพื้นที่และระบบการปลูกสมุนไพรในระบบอินทรีย์
2.3) การจัดการปัจจัยการผลิตสมุนไพรในระบบอินทรีย์ 24, 26 และ 27 เม.ย. 67 1, 3, 4, 8, 10 พ.ค. 67
2.4) การจัดการสมุนไพรหลังการเก็บเกี่ยว 11, 15, 17 และ 18 พ.ค. 67 1) บริษัท ดิลิเชียส สตอรี่ จำกัดเลขที่ 50 หมู่ 1 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
2) บริษัท สกินทูเกทเธอร์ จำกัด (เครื่องสำอาง) เลขที่ 100/137 รามคำแหง 94 แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง จังหวัดกรุงเทพมหานคร 3) ที่บ้านของผู้เรียนทั้ง 40 ราย ที่ปฎิบัติการปลูกสมุนไพรตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บางคล้า 1) ฝึกปฏิบัติการเก็บรักษาสมุนไพรตามหลักการผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า 2) ฝึกปฏิบัติการจัดการสมุนไพรหลังการเก็บเกี่ยว 3) ฝึกปฏิบัติการสกัดสารสำคัญในสมุนไพรชนิดต่าง ๆ
4) ฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ได้แก่ การทำสบู่สมุนไพร การทำครีมพอกหน้าสมุนไพร การทำชาสมุนไพร การทำสมุนไพรพร้อมดื่ม 5) ฝึกปฏิบัติการผลิตสมุนไพรแคปซูลด้วยเครื่องมือต่างๆ
3) การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี 3.1) การจัดการแมลงศัตูพืชโดยชีววิธี 22 และ 23 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บางคล้า 1) การบรรยายประกอบการสาธิต
2) การยกตัวอย่างการปฏิบัติจริง 3) การยกตัวอย่างกรณีศึกษาประกอบการบรรยาย 4) การอภิปรายและแลกเปลี่ยน 3.2) การจัดการโรคพืชโดยชีววิธี 2, 29  และ 30 พ.ค. 67 5, 7, 8, 12, 13, 15, 19 , 20, 23, 26, 27, 28 และ 29 มิ.ย. 67 1) กลุ่มเครือข่ายเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม  แปดริ้ว เลขที่ 193/1 หมู่ 3 ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) ที่บ้านของผู้เรียนทั้ง 40 ราย ที่ปฎิบัติการปลูกผักและสมุนไพรตามระบบการผลิตแบบอินทรีย์ 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏ  ราชนครินทร์ บางคล้า 1) ฝึกปฏิบัติการผลิตสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกัน ขับไล่ และกำจัดโรคและแมลงในการผลิตผักและสมุนไพรในระบบอินทรีย์ 2) ฝึกปฏิบัติการผลิตสารชีวภัณฑ์ทางการเกษตร ประกอบด้วย 1) จุลินทรีย์น้ำแดง 2) ฮอร์โมนไข่ 3)สารชีวภาพจากสัตว์ และพืชต่างๆ 4) การผลิตเชื้อไตรโครเดอร์มา 5) การผลิตหัวเชื้อเมธาไรเซียม 6) การผลิตหัวเชื้อ บิวเวอร์เรีย 3.3) การจัดการวัชพืชในระบบอินทรีย์
กิจกรรมสรุปบทเรียนการพัฒนาทักษะการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์ 10 กค. 67 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เลขที่ 7 หมู่ 2 ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา กิจกรรม 1) วิทยากรนำเสนอมาตรฐานการผลิตพืชผักและสมุนไพรในระบบอินทรีย์และการผลิตเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
2) เสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถอดบทเรียนการพัฒนาทักษะการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์   2.1) นำเสนอผลการดำเนินงานในภาพของกลุ่มที่ร่วมกันคิดและแลกเปลี่ยนการฝึกปฏิบัติ   2.2) ทักษะและสมรรถนะที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการ   2.3) ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครการ จุดดี จุดต้องปรับแก้ไข
  2.4) การนำผลที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการไปปฏิบัติจริง   2.5) ดึงการปฏิบัติที่ดีของแต่ละกลุ่มที่ทำแล้วเป็นผลที่เกิดในทางบวก ที่อยากจะเล่าเรื่องให้เพื่อนสมาชิกได้ฟังและร่วมกันแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน   2.6) ความต้องการในการเสริมเนื้อหา ทฤษฎี ที่ของหลักสูตรที่จะช่วยเสริมความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมเสวนา เส้นทางการการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์ 21 กค. 67 ศูนย์เรียนรู้ไร่นาสวนผสมตำบลแหลมประดู่ (นาป้าฝน) เลขที่ 12/2 หมู่ 3 ตำบลแหลมประดู่  อำเภอบ้านโพธิ์  จังหวัดฉะเชิงเทรา เสวนา และอภิปรายสรุปการฝึกปฏิบัติตามโจทย์จากหน่วยทุน ทั้งพืช และสมุนไพร ตลอดเส้นทางการผลิต ตั้งแต่การเตรียมดิน พันธุ์ การจัดการในแปลง การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการวิเคราะห์สารสำคัญ โดยมีประเด็นการ และร่วมกิจกรรมเอามื้อในพื้นที่ การปลูกพืชหลุมพอเพียง การปรุงอาหารร่วมรับประทาน การโชว์ผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากโครงการ การนำเสนอสิ่งดีๆ ที่เกิดจากการเข้าร่วมโครงการ

โดย Sataporn Deeying เมื่อ 3 พ.ย. 67 05:52 น.