แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ปฐมนิเทศ 27 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การพัฒนาอาจารย์ 6 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ 15 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การเรียนรู้เรื่องเซ็นเซอร์ 1 ก.ค. 2565

 

 

 

 

 

การเรียนรู้เรื่อง Articulate robot 2 ส.ค. 2565

 

 

 

 

 

การเรียนรู้และฝึกทักษะ PLC 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

สรุปโครงการ 20 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การเรียนรู้การใช้งานระบบ HMI &Touch screen ของระบบอัตโนมัติ 18 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศ 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมของหลักสูตรให้กับผู้เรียนให้รับทราบ

 

ผลผลิต มีผู้เข้ารับการปฐมนิเทศครบ 25 ท่าน มีสถานประกอบการเข้ามาร่วมกิจกรรม 2 แห่ง ผลลัพธ์
ผู้เรียนมีความเข้าใจรูปแบบการเรียนรู้ของหลักสูตรแบบ non degree

 

การเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 1 15 มิ.ย. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

การประสานสถานประกอบการ บริษัท เอส.เอ็ม.ซี (ประเทศไทย)จำกัด  999/32-33 ม.4 ต.เขาคันทอง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี  เพื่อเข้าเรียนรู้การใช้งานระบบนิวเมติกส์ไฟฟ้า การใช้งานระบบนิวเมติกส์ในงานอุตสาหกรรม

 

ผลผลิต
1.ผู้เรียนได้เข้ารับการเรียนรู้กับสถานประกอบการ จำนวน 25 ราย ผลลัพท์ 1.ผู้เรียนผ่านการทดสอบจากสถานประกอบการ 16 ราย

 

การเรียนรู้ระบบนิวเมติกส์ 16 มิ.ย. 2565 16 มิ.ย. 2565

 

โมดูลการเรียนรู้ระบบนิวเมติกส์ มีข้อจำกัดในเรื่องของสถานที่และภาวะโควิทที่ยังมีการระบาดอยู่ส่งผลต่อการดำเนินการ การแก้ปัญหา หารือร่วมกับสถานประกอบการ บริษัท เอส.เอ็ม.ซี (ประเทศไทย)จำกัด ให้จัดการศึกษาในเรื่องระบบนิวเมติกส์ให้ด้วย ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ทางสถานประกอบการมีความชำนาญ ซึ่งทำให้การเรียนรู้ในเรื่องระบบนิวเมติกส์สมารถสอดแทรกในช่วงที่ศึกษาเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการได้ในคราวเดียวกัน

 

ผลผลิต
ผู้เข้ารับการอบรม 25 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบ  16 คน

 

การเรียนรู้ด้านการใช้งานเซ็นเซอร์ 1 ก.ค. 2565 1 ก.ค. 2565

 

เรียนรู้การใช้งานและฝึกปฏิบัติการทำงานของเซ็นเซอร์แบบต่างๆ

 

ผลผลิต 1.ผู้เข้าเรียนรู้ 25 คน ผลลัพท์
2.ผู้เรียนเข้าครบตามชั่วโมงที่กำหนด 21 ท่าน

 

การแข่งขันทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบชาญฉลาด Smart Automation 4.0 ครั้งที่ 4 25 ก.ค. 2565 25 ก.ค. 2565

 

การนำผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมการแข่งขันการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบชาญฉลาด Smart Automation 4.0 ครั้งที่ 4

 

ผลผลิต 1. คัดเลือกผู้เรียนในโครงการ 3 ท่านเข้าร่วมกิจกรรม อาจารย์ 1 ท่าน ผลลัพธ์ 1.ผู้เรียนในโครงการ 3 ท่านได้เรียนรู้เทคนิคการเขียนโปรแกรมควบคุมแบบอัตโนมัติ
2. อาจารย์ได้พัฒนาทักษะการเขียนโปรแกรมควบคุมในรูปแบบที่หลากหลายขึ้น

 

เรียนรู้ Articulate robot 2 ส.ค. 2565 2 ส.ค. 2565

 

เรียนรู้ระบบกลไกและการแบ่งประเภทของหุ่นยนต์
ระบบเซนเซอร์และระบบส่งกำลังของหุ่นยนต์ขนาดเล็ก
การออกแบบโครงสร้างเพื่อให้เหมาะสมต่อการใช้งานและการเคลื่อนที่
การออกแบบระบบฮาร์ดแวร์และโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์
การออกแบบระบบติดต่อสื่อสารระหว่างหุ่นยนต์ขนาดเล็ก ได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์เรียนรู้จากสถานประกอบการ บริษัท ออโต ไดแด็กติก จำกัด ร่วมกับ ทีมอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทฤษฏี 12 ชั่วโมง  ภาคปฏิบัติ 30 ชั่วโมง

 

ผลผลิต ผู้เข้ารับการเรียนรู้ 25 คน
ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการเรียนรู้ใช้เวลาเรียนมากกว่า ร้อยละ 80 จำนวน 21 คน

 

การเรียนรู้และฝึกทักษะ PLC 1 ก.ย. 2565 1 ก.ย. 2565

 

เรียนรู้ภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติ หลักการการควบคุมตามลําดับ
การเลือกและการจัดวางอุปกรณ์โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์
การประกอบอุปกรณ์ควบคุมและการทดสอบการเดินสายไฟฟ้าภายนอกโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์
การเขียนโปรแกรมควบคุม PLC ทางด้านอุตสาหกรรม
การทดสอบมาตราฐานฝีมือแรงงาน ช่างควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ระดับ 1 เรียนรู้ร่วมกันกับสถานประกอบการการเรียนรู้ กับ บริษัท ออโต ไดแด็กติก จำกัด และคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และร่วมสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานกาญจนบุรี ในการร่วมการทดสอบมาตราฐานฝีมือแรงงาน ช่างควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ระดับ 1 ชั่วโมงการเรียนรู้ภาคทฤษฏี 21 ชั่วโมง  ภาคปฏิบัติ 75 ชั่วโมง

 

ผลผลิต ผู้เข้าร่วมเรียนรู้ 25 คน ผลลัพธ์ ผุ้เข้าร่วมเรียนรู้มีชั่วโมงการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 21 คน

 

การใช้งานระบบ HMI &Touch screen ของระบบอัตโนมัติ 5 ต.ค. 2565 5 ต.ค. 2565

 

เรียนรู้ หลักการเขียนโปรแกรมควบคุมผ่าน HMI & Touch Screen ฝึกปฏิบัติการใช้งาน PLC กับระบบสัญญาณ Analog และ  Digital
รูปแบบข้อมูล การเชื่อมต่อระหว่าง PLC กับ HMI และระหว่าง HMI กับ Touch Screen
การเขียนโปรแกรมแสดงผล Simulation PLC / HMI
การควบคุม PLC กับ HMI ผ่านระบบเครือข่าย เรียนรู้ร่วมกันกับสถานประกอบการ จากบริษัท เยนเนอรัล อินสมรูเมนท์ จำกัด  และกับคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร การเรียนรู้ร่วมกันภาคทฤษฎี จำนวน 6 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 24 ชั่วโมง

 

ผลผลิต ผู้เข้ารับการเรียนรู้จำนวน 25 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการเรียนรู้มีจำนวนชั่วโมงการเรียนรู้มากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 21 ท่าน

 

การเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 1 พ.ย. 2565 1 พ.ย. 2565

 

การเรียนรู้ ระบบเครือข่ายและวิธีการติดต่อสื่อสารข้อมูลที่ใช้ในระบบ SCADA
เรียนรู้ทฤษฎี และฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมควบคุม การประยุกต์ใช้งานของระบบ SCADA
เทคนิคการเก็บข้อมูลแท็กลงบนหน่วยความจํา
การทําระบบเตือน  การติดต่อสื่อสารกับหน่วยอินพุต/เอาต์พุต
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ IIOT เพื่อใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
การเชื่อมต่อระบบ IIOT กับ Smart FRL ในงานอุตสาหกรรม เรียนรู้ภาคปฏิบัติ จำนวน 12 ชั่วโมง ภาคปฏิบัติ 36 ชั่วโมง

 

ผลผลิต
ผู้เข้าเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ จำนวน 25 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้าเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ผ่านการประเมิน จำนวน 21 คน

 

สรุปโครงการ 20 พ.ย. 2565 20 พ.ย. 2565

 

สรุปผลการดำเนินงาน

 

รูปเล่มรายงาน