แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ หลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัว และการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง (Advanced Analytics) สำหรับอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ไฟฟ้า และผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
รหัสโครงการ FN64/0030 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 ม.ค. 2568 ถึง 16 ม.ค. 2568
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดซื้อวัสดุในการฝึกอบรม |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
2. จัดซื้อวัสดุในการฝึกอบรม |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เวลา 07:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
3. ปฐมนิเทศ/เตรียมความพร้อม โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 26 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
4. บรรยาย โมดูล 1: บทบาทการทำงานยุคดิจิทัลกับการบูรณาการข้อมูล |
||
วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนทราบถึงภาพรวมของอุตสาหกรรม เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ความสำคัญและที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูล และการประยุกต์ใช้ข้อมูลในการทำงานและการตัดสินใจ 3.ผู้เรียนเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในในการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัตื และศึกษาจากกรณีศึกษา ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. การเชื่อมโยงความรู้ 6. การสืบค้นข้อมูล 7. การคิดเชิงระบบ และเหตุผล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: บรรยาย หัวข้อ “ที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการการประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัว และการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง (Advanced Analytics) สำหรับอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ไฟฟ้า และผลิตชิ้นส่วนยานยนต์” โมดูล 1: บทบาทการทำงานยุคดิจิทัลกับการบูรณาการข้อมูล *ความสำคัญของข้อมูลกับการบริหารงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล - แนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเพิ่มมูลค่าองค์กรในโลกยุคดิจิทัล - กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้การบูรณาการข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาเชิงธุรกิจ รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัตื - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
|
40 | 0 |
5. ติดตามวัดผล โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 9 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
6. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ด้วยเครื่องมือ MS Excel 2. ฝึกปฏิบัติการ การใช้งานฟังชั่นพื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ทักษะการใช้งานโปรแกรมในการวิเคาะห์ข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล *กระบวนการในการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยเริ่มตั้งแต่ การศึกษาวิเคราะห์ความต้องการ การออกแบบระบบงาน *พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Excel 365 - การใช้งานแท็บเมนูและเครื่องมือ - การจัดการแผ่นงาน และสมุดงาน การสร้างสูตรและพื้นฐานการคำนวณ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล - การใช้งานฟังก์ชันพื้นฐาน รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา - ปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
7. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการด้านข้อมูล การใช้ฟังชั่น และการคำนวณขั้นสูงเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 2. สามารถมารถประยุกต์ใช้ฟังชั่นในการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล 2. การจัดกลุ่ม และการเรียงลำดับ 3. ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล การใช้งานฟังก์ชันพื้นฐาน - การเรียกใช้งานฟังก์ชันทางด้านอุตสาหกรรม - การตรวจสอบฟังก์ชัน/สูตรการคำนวณ - การใช้ฟังก์ชันขั้นสูง - การติดตามฟังก์ชัน/สูตรการคำนวณ - การประยุกต์ใช้ฟังก์ชันกับแก้ปัญหาของหน่วยงาน รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
8. ฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง ณ สถานประกอบการ |
||
วันที่ 14 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
9. เตรียมความพร้อม โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
10. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. มีความรู้ความเข้าใจในการจัดเรียงและแสดงผลข้อมูลในรูปแบบกราฟเพื่อการตัดสินใจได้ 2. ฝึกปฏิบัติการในการสร้างและนพเสนอข้อมูลเพื่อการวิเคระห์และตัดสินใจได้ 3. จัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อใช้งานในองค์กร ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. การอภิปรายผล 3. และการนำเสนอข้อมูล 4. ทักษะการจำแนก และจัดหกลุ่มข้อมูล 5. ทักษะการจัดเรียงและจัดเตรียมข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล
การใช้งานสร้างแผนภูมิเพื่อนำเสนอข้อมูล
- การสร้าง Column Chart, Line Chart, Bar Chart รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
11. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจถึงแนวคิดและกระบวนการในการวิเคระห์ข้อมูลขั้นสุงทางธุรกิจ สามารถปฏิบัติการข้อมูลด้วยการใช้งาน การใช้งาน PIVOT TABLE เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูล ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ทักษะการสืบค้นข้อมูล 3. ทักษะการอภิปราย 4. มีทักษะในการใช้ PIVOT TABLE เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลสำหรับหน่วยงานได้ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงกับกรณีศึกษาทางด้านธุรกิจ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล การใช้งาน PIVOT TABLE (ต่อ) - ข้อมูลดิบที่เหมาะสมสำหรับสร้าง PivotTable เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูล - วิธีทำความเข้าใจ กับ ข้อมูลดิบ ก่อนสร้าง PivotTable รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
12. ฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง ณ สถานประกอบการ |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 2 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
13. เตรียมความพร้อม โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
14. ปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. มีความรู้ความเข้าใจในระบบฐานข้อมูล 2. สามารถออกแบบใช้งานฐานข้อมูลได้ 3. สามารถออกแบบระบบฐานข้อมูลได้ 4. สร้างฐานข้อมูลได้ตามที่ออกแบบ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล และสร้างฐานข้อมูลสำหรับหน่วยงานได้ 2. ทักษะในการประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับหน่วยงานได้ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล ฐานข้อมูลเบื้องต้น การสร้างและการออกแบบฐานข้อมูล - คำสั่งการปฏิบัติการกับฐานข้อมูล ฝึกปฏิบัติการ ออกแบบระบบฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสำหรับธุรกิจ การการเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อทำงานกับฐานข้อมูลสำหรับธุรกิจ รูปแบบการเรียนการสอน: - ปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
15. ปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. บริหารจัดการฐานข้อมูล การเรียหใช้ข้อมูล การใช้งานคำสั่งต่างๆในการจัดการฐานข้อมูลได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการทำงานเป็นทีม 2. ทักษะการวิเคระห์ข้อมูล 3. ทักษะการสืบค้นข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: แบ่งกลุ่มปฏิบัติการจำนวน 4 กลุ่ม โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล การใช้งานใช้งานคำสั่งในการสร้างตารางข้อมูล เพิ่ม ลบ แก้ไข และเรียกใชข้อมูล รูปแบบการเรียนการสอน: - ปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
16. ปฎิบัติ โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนสารมารถที่จะนำเข้าชุดข้อมูล และส่งออกชุดช้อมูล และสำรองข้อมูลได้ 2. ผู้เรียนสามารถรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลหลายแหล่งงเพื่อการตัดสินจทางธุรกิจได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการทำงานเป็นทีม 2. ทักษะการวิเคระห์ข้อมูล 3. ทักษะการสืบค้นข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: แบ่งกลุ่มปฏิบัติการจำนวน 4 กลุ่ม โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล ฝึกปฏิบัติการในการนำเข้าชุดข้อมูล และส่งออกข้อมูล และการสำรองข้อมูลสำหรับธุรกิจ การรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลหลายแหล่งเพื่อการตัดสินใจ รูปแบบการเรียนการสอน: - ปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
17. อภิปราย โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: อภิปราย โมดูล 1: ระบบซอฟต์แวร์ และการจัดการฐานข้อมูล ผู้เข้าอบรมนำเสนอโครงงาน หรือการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
18. ปฐมนิเทศ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
19. บรรยาย โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและความสำคัญระบบสมองกลฝังตัว 2. ทฤษฏีระบบสมองกล 3. การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 4. วงจรไฟฟ้า และอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้น 5. ระบบข้อมูลแบบดิจิตอล และอนาล็อก 6. สัญญาณและการสื่อสารข้อมูล 7. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการระบบวงจรไฟฟ้า และอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้นได้ 8. ทำความเข้าใจส่วนประกอบและการทำงานของบอร์ดสมองกลเบื้องต้นได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. การคิดวิเคราะห์ 6. การเชื่อมโยงความรู้ 7. การสืบค้นข้อมูล 8. ทักษะด้านวงจรไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หลักการและความสำคัญระบบสมองกลฝังตัว ทฤษฏีระบบสมองกล การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง วงจรไฟฟ้า และอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้น ระบบข้อมูลแบบดิจิตอล และอนาล็อก สัญญาณและการสื่อสารข้อมูล ฝึกปฏิบัติการระบบสมองกลฝังตัว แนะนำการทำงานและส่วนประกอบของบอร์ดสมองกลฝังตัว ทดลองเชื่อมวงจรไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้น การใช้งานบอร์ดทดลองเพื่อต่อวงจร แหล่งจ่ายไฟ และความปลอดภัยเบื้องต้น รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
20. ทดสอบ/ประเมินผล โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
21. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของบอร์ดสมองกลฝังตัว
2. ระบบ Input และ Output ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การเชื่อมโยงความรู้ 3. การสืบค้นข้อมูล 4. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสมองกล 5. ทักษะการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 6. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 7. การเชื่อมโยงความรู้ 8. การสืบค้นข้อมูล 9. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสมองกล 10. ทักษะการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
ประเภทของบอร์ดสมองกลฝังตัว
ระบบ Input และ Output รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
22. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. มีความรู้ในการเขียนโปรแกรมประมวลผลทางคณิตศาสตร์ 2. คำสั่งเงื่อนไขทางตรรกะ การเปรียบเทียบเงื่อนไขการทำงานของระบบ 3. ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมสั่งงานสมองกลฝังตัวในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และเงื่อนไขทางตรรกะ การเปรียบเทียบเงื่อนไข และการตัดสินใจของระบบ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสมองกล 2. ทักษะการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 3. ทักษะการเขียนโปรแกรมสั่งงานสมองกลฝังตัว 4. ทักษะการคิดเชิงตรรกะ 5. ทักษะการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง การเขียนโปรแกรมประมวลผลทางคิณตศาสตร์ การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเงื่อนไขทางตรรกะ การเปรียบเทียบเงื่อนไขการทำงาน และการตัดสินใจของระบบ ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมสำหรับสมองกลฝังตัวในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และเงื่อนไขทางตรรกะ การเปรียบเทียบเงื่อนไข และการตัดสินใจของระบบ รูปแบบการเรียนการสอน: -- บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
23. ฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง ณ สถานประกอบการ โมดูล 2 |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 3 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
24. ติดตาม/วัดผล โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
25. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนได้ทราบถึงหลักการทำงานของเซ็นเซอร์ตรวจจับสภาพแวดล้อมประเภทต่างๆ 2. ฝึกปฏิบัติ – เชื่อมต่อและสั่งการทำงานเพื่อรวบรวมข้อมูลจากเซ็นเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อมแต่ละประเภท แล้วสร้างเงื่อนไขการตัดสินใจตามที่กำหนด 3. เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับแสง 4. เซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ 5. เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้น 6. เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว 7. เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้นในดิน 8. เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุและโลหะ 9. โฟโตอิเลคทริกเซ็นเซอร์ 10. เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับน้ำแบบไร้สัมผัส 11. เซ็นเซอร์ตรวจจับเปลวไฟ ควัน และสารพิษ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน 4. ทักษะการเขียนโปรแกรมสั่งงานสมองกลฝังตัว 5. ทักษะการคิดเชิงตรรกะ 6. ทักษะการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ระบบตรวจจับ(Sensor)สภาพแวดล้อม เช่น เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับแสง เซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้น เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้นในดิน เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุและโลหะ โฟโตอิเลคทริกเซ็นเซอร์ เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับน้ำแบบไร้สัมผัส เซ็นเซอร์ตรวจจับเปลวไฟ ควัน และสารพิษ ฝึกปฏิบัติ – เชื่อมต่อและสั่งการทำงานเพื่อรวบรวมข้อมูลจากเซ็นเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อมแต่ละประเภท แล้วสร้างเงื่อนไขการตัดสินใจตามที่กำหนด เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับแสง เซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้น เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว เซ็นเซอร์ตรวจวัดความชื้นในดิน เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุและโลหะ โฟโตอิเลคทริกเซ็นเซอร์ เซ็นเซอร์ตรวจวัดระดับน้ำแบบไร้สัมผัส เซ็นเซอร์ตรวจจับเปลวไฟ ควัน และสารพิษ รูปแบบการเรียนการสอน: -- บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
26. ฝึกปฎิบัติด้วยตนเอง ณ สถานประกอบการ โมดูล 2 |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 4 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
27. ฝึกปฎิบัติ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ฝึกปฏิบัติการในการสร้างรวบรวมข้อมูล การสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ผ่านระบบเครือข่าย 2. การจัดการพลังงานสำหรับอุปกรณ์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง 3. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติการเชื่อมต่อระบบสมองกลฝังตัวเข้าสู่ระบบเครือข่าย 4. รวบรวมและส่งผ่านข้อมูล บันทึกเข้าสู่ระบบ Cloud 5. สร้างระบบการแจ้งเตือนและสั่งการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการจำแนก และจัดกลุ่มข้อมูล รวบรวมข้อมูล 2. ทักษะการจัดเรียงและจัดเตรียมข้อมูล 3. ทักษะการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. ทักษะการเชื่อมต่อระบบเข้ากับเครือข่าย 5. ทักษะในการออกแบบระบบเพื่อรวบรสมข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง - กระบวนการรวบรวมข้อมูล การสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ผ่านระบบเครือข่าย การจัดการพลังงานสำหรับอุปกรณ์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ฝึกปฎิบัติการ – เชื่อมต่อระบบสมองกลฝังตัวเข้าสู่ระบบเครือข่าย รวบรวมและส่งผ่านข้อมูล บันทึกเข้าสู่ระบบ Cloud สร้างระบบการแจ้งเตือนและสั่งการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
28. ฝึกปฎิบัติ โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. สามารถออกแบบระบบอัตโนมัติ ด้วยบอร์ดสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ในการทำงาน และตัดสินใจ รวมถึงรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง 2. สามารถปฏิบัติการออกแบบและสร้างระบบอัตโนมัติ ด้วยบอร์ดสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ในการทำงาน และตัดสินใจ รวมถึงรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลของหน่วยงานได้ 2. ทักษะการทำงานเป็นทีม 3. ทักษะการวิเคระห์ข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ออกแบบและสร้างระบบอัตโนมัติ ด้วยบอร์ดสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ในการทำงาน และตัดสินใจ รวมถึงรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง แบ่งกลุ่มปฏิบัติการจำนวน 4 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ - ออกแบบและสร้างระบบอัตโนมัติ ด้วยบอร์ดสมองกลฝังตัว และอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ในการทำงาน และตัดสินใจ รวมถึงรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
29. อภิปราย โมดูล 2 : ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: อภิปราย โมดูล 2: ระบบสมองกลฝังตัว และระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ผู้เข้าอบรมนำเสนอโครงงาน หรือการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
30. เตรียมงาน โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
31. บรรยาย โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฏีเหมืองข้อมูล
2. กระบวนการในการดำเนินการการทำเหมืองข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. การคิดวิเคราะห์ 6. การเชื่อมโยงความรู้ 7. การสืบค้นข้อมูล 8. ทักษะด้านการทำเหมืองข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 3: เหมืองข้อมูล และ Big Data ความหมายและความสำคัญของเหมืองข้อมูล หลักการ และทฤษฏีเหมืองข้อมูล กระบวนการในการดำเนินการการทำเหมืองข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining การหากฎความสัมพันธ์ (Association Rule) การแบ่งกลุ่มข้อมูล(Classifying) รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
32. บรรยายและปฏิบัติการ โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดเตรียมข้อมูล และการ Cleansing Data
2. กระบวนการในการจัดกลุ่มข้อมูล (Clustering) กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
ทฤษฏี รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
33. ติดตาม/วัดผล โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 5 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
34. เตรียมความพร้อม โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
35. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. มีความรู้ในกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย CRISP-DM ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสมองกล 2. ทักษะการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น 3. ทักษะการเขียนโปรแกรมสั่งงานสมองกลฝังตัว 4. ทักษะการคิดเชิงตรรกะ 5. ทักษะการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหา กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 3: เหมืองข้อมูล และ Big Data
กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย CRISP-DM รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
36. ติดตาม/วัดผล โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัตืการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 6 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
37. เตรียมความพร้อม โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
38. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยี Big Data เครื่องมือบริหารข้อมูลอัจฉริยะ การวิเคราะห์ข้อมูล เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล การเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจทางธุรกิจ 2. ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือบริหารข้อมูลอัจฉริยะในการวิเคราะห์ข้อมูล 3. การทำ Data Visualization เพื่อการตัดสินใจ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน 4. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 5. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 6. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 3: เหมืองข้อมูล และ Big Data เทคโนโลยี Big Data เครื่องมือบริหารข้อมูลอัจฉริยะ การวิเคราะห์ข้อมูล เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล การเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจทางธุรกิจ ฝึกปฏิบัติการ – การใช้เครื่องมือบริหารข้อมูลอัจฉริยะในการวิเคราะห์ข้อมูล การทำ Data Visualization เพื่อการตัดสินใจ ด้วย Power BI รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติการ
|
40 | 0 |
39. บรรยาย โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ 2. หลักการและวิธีการทำ Advanced Analytics ด้วย Deep Learning และแนวคิดด้าน Neural Network 3. ผู้เรียนได้เพิ่มพูลทักษะในการเตรียมข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะกับการนำไปวิเคราะห์ แนะนำเครื่องมือ Power Query 4. เพิ่มพูลทักษะการการกรองข้อมูล และการปรับแต่งโครงสร้างและรูปแบบข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วย Solver ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 6. ทักษะการประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีในการวิเคระห์ข้อมูลขั้นสูง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์
หลักการและวิธีการทำ Advanced Analytics ด้วย Deep Learning และแนวคิดด้าน Neural Network
ฝึกปฏิบัติ - การเตรียมข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะกับการนำไปวิเคราะห์ แนะนำเครื่องมือ Power Query
- การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ workbook รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย
|
40 | 0 |
40. อภิปราย โมดูล 3 : เหมืองข้อมูล และ Big Data |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: อภิปราย โมดูล 3: เหมืองข้อมูล และ Big Data ผู้เข้าอบรมนำเสนอโครงงาน หรือการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
41. ติดตาม/วัดผล โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 7 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
42. เตรียมความพร้อม โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
43. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถออกแบบและประยุกต์ใช้ Machine Learning และ Artificial Intelligence (AI) สำหรับธุรกิจได้
2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติการติดตั้งเครื่องมือ เพื่อการดำเนินการจัดทำเหมืองข้อมูล
3. การทดลองปฏิบัติการกฎความสัมพันธ์ (Association Rule) ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การเชื่อมโยงความรู้ 3. การสืบค้นข้อมูล 4. ทักษะด้านการทำเหมืองข้อมูล 5. การคิดวิเคราะห์ 6. การเชื่อมโยงความรู้ 7. การสืบค้นข้อมูล 8. ทักษะด้านการทำเหมืองข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์
การออกแบบและประยุกต์ใช้ Machine Learning และ Artificial Intelligence (AI) สำหรับธุรกิจ
ฝึกปฏิบัติการ - รูปแบบการเรียนการสอน: - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
44. ติดตาม/วัดผล โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 8 รูปแบบการเรียนการสอน: - ฝึกปฏิบัติ
|
0 | 0 |
45. อภิปราย โมดูล 4: Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: อภิปราย โมดูล 4 : Advanced Analytics และปัญญาประดิษฐ์ ผู้เข้าอบรมนำเสนอโครงงาน หรือการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
46. เตรียมความพร้อม โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
47. บรรยาย โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 9 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
2. แนวทางการทำโครงงาน และปัญหาพิเศษ
3. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการร่างข้อเสนอโครงการ
4. การกำหนดประเด็นและความสำคัญของโครงงาน ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. ทักษะการเขียนข้อเสนอโครงการ 6. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 7. ทักษะการนำเสนอ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
โมดูล 5: โครงงานและปัญหาพิเศษ
แนวทางการทำโครงงาน และปัญหาพิเศษ
การกำหนดประเด็นและความสำคัญของโครงงาน เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การทำแผนงาน (Action plan) การวิเคราะห์ความเสี่ยง การประมาณการต้นทุน การจัดทำงบประมาณ เป็นต้น
ฝึกปฏิบัติ - การร่างข้อเสนอโครงการ
การกำหนดประเด็นและความสำคัญของโครงงาน รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
48. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
2. การวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง สำหรับโครงการ
3. การประมาณการต้นทุนสำหรับโครงการ
4. การจัดทำงบประมาณสำหรับโครงการ
5. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการการทำแผนงาน (Action plan) การวิเคราะห์ความเสี่ยง และการพัฒนาแผนจัดการความเสี่ยงสำหรับโครงการ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 2. การมองภาพองค์รวม 3. การเข้าใจถึงผลกระทบ 4. ทักษะการอภิปราย 5. ทักษะการเขียนแผนงาน 6. ทักษะการวิเคราะห์ความเสี่ยง 7. ทักษะการวางแผนงบประมาณ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย:
การวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง สำหรับโครงการ
การประมาณการต้นทุนสำหรับโครงการ
การจัดทำงบประมาณสำหรับโครงการ รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
49. ติดตาม/วัดผล โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 9 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
50. เตรียมความพร้อม โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
51. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 07:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการรองรับเข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพ รวมถึงกฎหมายและการจดสิทธิบัตร 2. ผู้เรียนสามารถอภิปรายมาตรฐานวิชาชีพ รวมถึงกฎหมายและการจดสิทธิบัตรได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการนำเสนองาน 3. ทักษะการสืบค้นข้อมูล 4. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 5. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 5: โครงงานและปัญหาพิเศษ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการรองรับเข้าสู่มาตรฐานวิชาชีพ รวมถึงกฎหมายและการจดสิทธิบัตร ฝึกปฏิบัติการ - อภิปราย - มาตรฐานวิชาชีพ รวมถึงกฎหมายและการจดสิทธิบัตร รูปแบบการเรียนการสอน: บรรยาย ฝึกปฏิบัติการ - อภิปราย
|
40 | 0 |
52. ติดตาม/วัดผล โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ – กิจกรรมตรวจติดตามผลการฝึกปฏิบัติการในสถานประกอบการ ครั้งที่ 10 รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
0 | 0 |
53. เตรียมความพร้อม โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
40 | 0 |
54. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 23 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์:
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจกระบวนการตรวจสอบ และทดสอบประสิทธิภาพของโครงงานและสิ่งประดิษฐ์ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การเชื่อมโยงความรู้ 3. การสืบค้นข้อมูล 4. ทักษะด้านการทำเหมืองข้อมูล 5. ทักษะในการวางแผนงาน 6. ทักษะการตรวจ และทดสอบ ควบคุม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: โมดูล 5: โครงงานและปัญหาพิเศษ กระบวนการตรวจสอบ และทดสอบประสิทธิภาพของโครงงานและสิ่งประดิษฐ์ ฝึกปฏิบัติการ – ตรวจสอบ และทดสอบประสิทธิภาพของโครงงานและสิ่งประดิษฐ์ รูปแบบการเรียนการสอน: - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
55. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการนำการวอเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงมาช่วยในการพัฒนากลยุทธสำหรับองค์กร ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การเชื่อมโยงความรู้ 3. การสืบค้นข้อมูล กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนากลยุทธองค์กร และการจัดการองค์กรบนฐานของการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง สำหรับอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ไฟฟ้า และผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
56. บรรยายและปฎิบัติ โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการนำการการจัดการเชิงกลยุทธ สามารถฝึกปฏิบัติการในการเขียนแผนกลยุทธสำหรับองค์กรได้ ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการเชิงกลยุทธ และการเขียนแผนกลยุทธสำหรับองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: - บรรยาย - ฝึกปฏิบัติ
|
40 | 0 |
57. อภิปราย โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ |
||
วันที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลลัพธ์: 1. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้มาฝึกปฏิบัติการ และใช้งานในสถานประกอบการด้วยตนเอง ทักษะและสมรรถนะที่พัฒนา: 1. ทักษะในการคิดวิเคราะห์ 2. ทักษะในการแก้ไขปัญหา 3. ทักษะในการนำเสนองาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงการบรรยาย: อภิปราย โมดูล 5 : โครงงานและปัญหาพิเศษ ผู้เข้าอบรมนำเสนอโครงงาน และปัญหาพิเศษ โดยการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่เรียนมาในการแก้ปัญหาการปฏิบัติงานในองค์กร รูปแบบการเรียนการสอน: คณะวิทยากร และผู้เชี่ยวชาญ ดำเนินการตรวจติดตามผลร่วมกันพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 62 | 57 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 1,200,000.00 | 1,196,400.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 228 |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
(................................)
ผู้รับผิดชอบโครงการ