แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ 1 ส.ค. 2564

 

 

 

 

 

ออกแบบหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 1 มิ.ย. 2564 1 มิ.ย. 2564

 

1) ศึกษาดูงานของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 2) ระดมสมองร่วมกับสถาประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* *ผู้บริหารของบริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

 

1) ลักษณะทางธุรกิจของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 2) นโยบายการพัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 3) คุณลักษณะปัจจุบันของบุคลากรในภาพรวมของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

 

จัดทำแผนงานของหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 และ 2 1 มิ.ย. 2564 1 มิ.ย. 2564

 

1) กำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 2) ออกแบบโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 3) จัดตารางการเรียนรู้ของหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง , บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

1) โจทย์จริงของสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 2) โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 3) ตารางการเรียนรู้ของหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง , บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 1 1 ส.ค. 2564 1 ส.ค. 2564

 

1) การจัดการเรียนการสอนในภาคทฤษฎี 96 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านกรณีศึกษา (Case study-based Learning) ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ การบรรยาย (Lecture) การอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การอภิปราย (Discussion) และการให้คำแนะนำ (Coach) สำหรับ 3 หน่วยงานหลัก* 2) การจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ 240 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านการทำโครงงาน (Project-based learning) โดยมีผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นความสนใจที่เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียน มาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ด้วยโมเดลจักรยานแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ การกำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการ (Define) การวางแผน (Plan) สำหรับการดำเนินโครงงาน (Do) และสิ้นสุดโครงงานด้วยการถอดบทเรียน (Review) ร่วมกับการประเมินพัฒนาการของผู้เรียนผ่านการนำเสนอโครงการ (Presentation) สำหรับ 3 หน่วยงานหลัก* 3) การทบทวนภายหลังการดำเนินการ (After Action Review: AAR) มุ่งเน้นการสนับสนุนกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้ซ้ำๆ สู่การพัฒนาตนเองตลอดเวลา ด้วยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่แท้จริงกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง การค้นหาสาเหตุของผลลัพธ์เหล่านั้น การระบุหนทางแห่งการยั่งยืนและการพัฒนาสู่ความสำเร็จ และการวางแผนสำหรับสมรรถนะแห่งอนาคตด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกบนกรอบของคำถาม
*บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

 

1) ระดับองค์ความรู้ด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 2) ระดับทักษะด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 3) มูลค่าผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงาน 163,486,000 บาทต่อปี (บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น), 162,096,000 บาทต่อปี (บจก.โกลบเทค), 163,966,000 บาทต่อปี (บริษัทในเครือรวมถาวรขนส่ง)

 

ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 2 1 ม.ค. 2565 1 ม.ค. 2565

 

1) ศึกษาดูงานของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 2) ระดมสมองร่วมกับสถาประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* *บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

1) ลักษณะทางธุรกิจของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 2) นโยบายการพัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 3) คุณลักษณะปัจจุบันของบุคลากรในภาพรวมของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* *บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 2 1 ก.พ. 2565 1 ก.พ. 2565

 

1) การจัดการเรียนการสอนในภาคทฤษฎี 104 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านกรณีศึกษา (Case study-based Learning) ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ การบรรยาย (Lecture) การอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การอภิปราย (Discussion) และการให้คำแนะนำ (Coach) สำหรับ 2 หน่วยงานหลัก* 2) การจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ 280 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านการทำโครงงาน (Project-based learning) โดยมีผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นความสนใจที่เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียน มาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ด้วยโมเดลจักรยานแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ การกำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการ (Define) การวางแผน (Plan) สำหรับการดำเนินโครงงาน (Do) และสิ้นสุดโครงงานด้วยการถอดบทเรียน (Review) ร่วมกับการประเมินพัฒนาการของผู้เรียนผ่านการนำเสนอโครงการ (Presentation) สำหรับ 2 หน่วยงานหลัก* 3) การทบทวนภายหลังการดำเนินการ (After Action Review: AAR) มุ่งเน้นการสนับสนุนกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้ซ้ำๆ สู่การพัฒนาตนเองตลอดเวลา ด้วยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่แท้จริงกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง การค้นหาสาเหตุของผลลัพธ์เหล่านั้น การระบุหนทางแห่งการยั่งยืนและการพัฒนาสู่ความสำเร็จ และการวางแผนสำหรับสมรรถนะแห่งอนาคตด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกบนกรอบของคำถาม 4) การจัดทำวิดิโอประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์
*บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

1) ระดับองค์ความรู้ด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 2) ระดับทักษะด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 3) มูลค่าผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงาน 404,300,000 บาทต่อปี (บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น), 9,617,844.518 บาทต่อปี (มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร) 4) สถานประกอบการอื่นๆ ให้ความสำคัญกับการ up-skill และ/หรือ re-skill บุคลากร และทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเพื่อส่งเสริมและสนับสุนนการพัฒนาบุคลากรร่วมกับ มจธ. มากขึ้น