ประกาศนียบัตรผู้ช่วยสาธารณสุข

พัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขหมูบ้าน(อสม.) ด้านการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (ประกาศนียบัตรผู้ช่วยสาธารณสุข)6 พฤศจิกายน 2566
6
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย นายธวัชชัย สัตยสมบูรณ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การจัดการเรียนการสอนแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 เดือน พฤศจิกายน 2566 ภาคบรรยาย วันที่ 6 – 10 พฤศจิกายน 2566 จำนวน 45 ชั่วโมง                                     ภาคปฏิบัติงานจริง วันที่ 13-1 ธันวาคม 2566  จำนวน 180 ชั่วโมง                                             ภาคการปฏิบัติจริง : สัปดาห์ที่  2 -4 เดือนพฤศจิกายน (วันจันทร์-วันเสาร์) ฝึกปฏิบัติ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และโรงพยาบาล (รพ.) และชุมชนที่รับผิดชอบ ที่ผู้เรียนสังกัด ทั้ง 19 รพ.สต. และ 1 รพ. ระหว่างวันที่ 13-1 ธันวาคม 2566  ช่วงเลา 7.00 น- 18.00 น. รวมเวลา 180
                                            ชั่วโมง ระยะที่ 2 เดือน ธันวาคม 2566    ภาคบรรยาย วันที่ 4 – 7 ธันวาคม 2566 จำนวน 15 ชั่วโมง  ภาคปฏิบัติงานจริง วันที่ 8-23 ธันวาคม 2566  จำนวน 120 ชั่วโมง                                             ภาคการปฏิบัติจริง : สัปดาห์ที่  2 -4 เดือน ธันวาคม (วันจันทร์-วันศุกร์) ฝึกปฏิบัติ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และโรงพยาบาล (รพ.) และชุมชนที่รับผิดชอบ ที่ผู้เรียนสังกัด ทั้ง 19 รพ.สต. และ 1 รพ. ระหว่างวันที่ 8-23 ธันวาคม 2566  ช่วงเลา 7.00 น- 18.00 น. รวมเวลา 120
                                            ชั่วโมง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ช่วยสาธารณสุข ผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้ - ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีวินัย - ให้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ - ความรู้และให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ - ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อและไม่ติดต่อ - ความรู้ เข้าใจ SRRT ระดับตำบล : เฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพ รายงานป้องกันโรค - วิเคราะห์ข้อมูล ปัจจัยสาเหตุการเกิดโรค - นำเสนอแผนการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - นำเสนอรายงานการสอบสวนโรค และการป้องกันโรคเบื้องต้น - มีความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการ และงานที่ได้รับมอบหมาย
- ให้บริการสุขภาพในระบบปฐมภูมิ - วินิจฉัยอนามัยชุมชน และนำเสนอแผนการควบคุมโรคป้องกันโรคและภัยสุขภาพ