การพัฒนาทักษะการผลิตพืชอาหารและสมุนไพรอินทรีย์
เสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์ 1) ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2567 2) กิจกรรมตลอดโครงการ 3) จัดกลุ่มตามสมัครใจหรือความสนใจคล้ายกันหรือพื้นที่ใกล้กัน ทำงานร่วมกันได้ง่ายและสะดวก 4 อยู่ร่วมโครงการได้ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ 5) มีพื้นที่หลักของกลุ่มที่ร่วมกันในการทำกิจกรรมหลักของกลุ่ม 6) มีการฝึกปฏิบัติตามโจทย์จากหน่วยทุน ทั้งพืช และสมุนไพร ตลอดเส้นทางการผลิต ตั้งแต่การเตรียมดิน พันธุ์ การจัดการในแปลง การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการวิเคราะห์สารสำคัญ 7) ฐานหลักในการเสริมทรัพยากรหลักด้านชีวภัณฑ์ คือ สวนสิริวัฏ มีการให้บริการ เชื้อไตโครเดอร์มา เห็ดเรืองแสง และบางส่วนอาจจะจำหน่าย เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ 8) ตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ 8.1) อาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มจากมหาวิทยาลัยฯ จะลงพื้นที่ให้การปรึกษา แนะนำ ร่วมเรียนรู้และติดตามตามโจทย์ที่จะต้องประเมิน 8.2) วิทยากรส่วนกลางจะประสานแต่ละกลุ่มและมีการเยี่ยมเยือนกลุ่มต่างๆ แบบเย้า – เยือน เพื่อให้มีการนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนกับกลุ่มสมาชิกในโครงการ 8.3) ดึงการปฏิบัติที่ดีของแต่ละกลุ่มที่ทำแล้วเป็นผลที่เกิดในทางบวก ที่อยากจะเล่าเรื่องให้เพื่อสมาชิกได้ฟังและร่วมกันแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน 8.4) เนื้อหา ทฤษฎี ที่ของหลักสูตรช่วยเสริมความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ จะเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการตลอดระยเวลาการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมายจำนวน 40 คน ได้เข้าร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการผลิตพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์
ประเด็นการเสวนา 1) ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2567 2) กิจกรรมตลอดโครงการ 3) จัดกลุ่มตามสมัครใจหรือความสนใจคล้ายกันหรือพื้นที่ใกล้กัน ทำงานร่วมกันได้ง่ายและสะดวก 4 อยู่ร่วมโครงการได้ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ 5) มีพื้นที่หลักของกลุ่มที่ร่วมกันในการทำกิจกรรมหลักของกลุ่ม 6) มีการฝึกปฏิบัติตามโจทย์จากหน่วยทุน ทั้งพืช และสมุนไพร ตลอดเส้นทางการผลิต ตั้งแต่การเตรียมดิน พันธุ์ การจัดการในแปลง การเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการวิเคราะห์สารสำคัญ 7) ฐานหลักในการเสริมทรัพยากรหลักด้านชีวภัณฑ์ คือ สวนสิริวัฏ มีการให้บริการ เชื้อไตโครเดอร์มา เห็ดเรืองแสง และบางส่วนอาจจะจำหน่าย เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ 8) ตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ 8.1) อาจารย์ที่ปรึกษากลุ่มจากมหาวิทยาลัยฯ จะลงพื้นที่ให้การปรึกษา แนะนำ ร่วมเรียนรู้และติดตามตามโจทย์ที่จะต้องประเมิน 8.2) วิทยากรส่วนกลางจะประสานแต่ละกลุ่มและมีการเยี่ยมเยือนกลุ่มต่างๆ แบบเย้า – เยือน เพื่อให้มีการนำเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนกับกลุ่มสมาชิกในโครงการ 8.3) ดึงการปฏิบัติที่ดีของแต่ละกลุ่มที่ทำแล้วเป็นผลที่เกิดในทางบวก ที่อยากจะเล่าเรื่องให้เพื่อสมาชิกได้ฟังและร่วมกันแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน 8.4) เนื้อหา ทฤษฎี ที่ของหลักสูตรช่วยเสริมความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ จะเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการตลอดระยเวลาการดำเนินโครงการ