วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์

การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 111 มิถุนายน 2565
11
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย สุวิมล เจียรธราวานิช
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

รายละเอียดประกอบหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
โครงการบัณฑิตพันธ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบัตร (Nondegree) ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน 2565 - 18 กันยายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยมหิดล,
บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด, บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด,
บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด และออนไลน์

วัน เวลา หัวข้อ รายละเอียด โมดูล 1 พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ 11 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ - การตัดและขึ้นรูปทำตัวเรือน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)


13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ - การขัดชิ้นงานเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาค (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 12 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ     - การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของโลหะ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ     - การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของโลหะ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 15 มิถุนายน 2565 18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ     โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง 16 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ     โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง 17 มิถุนายน 2565 18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ     โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง 18 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ - การประเมินปริมาณคาร์บอนในเหล็กกล้า (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ - การประเมินปริมาณคาร์บอนในเหล็กกล้า และสารอื่น (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) โมดูล 2 สมบัติทางกลของโลหะและการทดสอบ 19 มิถุนายน 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ - การทดสอบแรงดึง 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ - การทดสอบความแข็ง 25 มิถุนายน 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ - การเตรียมชิ้นงานทดสอบการรับแรงกระแทก 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ - การทดสอบการรับแรงกระแทก 26 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง - การอ่านค่าจากเครื่องมือวัด - การตรวจสอบเครื่องมือ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง - การแยกลักษณะของรอยแตก - การจดบันทึกข้อมูล (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 30 มิถุนายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 2 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 3 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
- การตรวจสอบเครื่องมือ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
- การอ่านค่าจากเครื่องทดสอบ - การจดบันทึกข้อมูล (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 7 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 9 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก - JIS Z2202 - JIS Z2242 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก - การแยกลักษณะของรอยแตก - การจดบันทึกข้อมูล (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) โมดูล 3 โลหะกลุ่มเหล็ก 10 กรกฎาคม 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก - กระบวนการผลิตเหล็กหล่อ 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
- กระบวนการผลิตเหล็กหล่อ โครงสร้าง 16 กรกฎาคม 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก - โลหะวิทยาและการผลิตเหล็กหล่อเทา

13.00 – 16.00 น.    การสอนออนไลน์

ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก - โลหะวิทยาและการผลิตเหล็กหล่อเหนียว 17 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการมาตรฐานการทดสอบทรายแบบ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการมาตรฐานการทดสอบทรายแบบ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการออกแบบแบบจำลอง
สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการออกแบบแบบจำลอง
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 21 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 23 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น

สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

24 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิตเหล็กหล่อเทา
สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิตเหล็กหล่อเทา
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิต เหล็กหล่อเหนียว สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา 4. ผศ.สุวิมล  เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิต เหล็กหล่อเหนียว (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 27 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 30 กรกฎาคม2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเทา สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเทา สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเหนียว สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 3. ผศ.อัญชลี อินคำปา วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเหนียว สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) โมดูล 4 การแปลงเฟสและกรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้า 31 กรกฎาคม 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ - กระบวนการอบชุบในเหล็กหล่อต่างๆ - การผลิตเหล็กหล่ออบเหนียว 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ วิทยากรภายใน;
อ.มารุต  เขียวแก่ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ - กระบวนการอบชุบแม่พิมพ์ - กระบวนการทำผิวแข็งในงานแม่พิมพ์งานหล่อ 6 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13 สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ 2. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13 สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ 2. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 7 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 11 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing

สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

14 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable

สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย  นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

18 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์

สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

20 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening

สถานที่; มทร.กรุงเทพ วิทยากรภายใน; 1. ดร.ทินโน ขวัญดี 2. อ.มารุต เขียวแก่ 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

โมดูล 5 โลหะนอกกลุ่มเหล็ก 21 สิงหาคม 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก - การควบคุมคุณภาพทางโลหะวิทยาอะลูมิเนียมสำหรับงานหล่อ 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก การควบคุมคุณภาพทางโลหะวิทยาอะลูมิเนียมสำหรับงานหล่อ 27 สิงหาคม 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก - กระบวนการหล่อไดคาสติ้ง 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก กระบวนการหล่อไดคาสติ้ง 28 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจสอบโครงสร้างโลหะวิทยา สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; การตรวจสอบโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; ปฏิบัติการควบคุมการผลิตอะลูมิเนียมหล่อ

สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการควบคุมการผลิตอะลูมิเนียมหล่อ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 1 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) โมดูล 6 ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ 3 กันยายน 2565 09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์ วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์ - ความเสียหายจากข้อบกพร่องในการผลิต 13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์ วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์ ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์ - ความเสียหายจากข้อบกพร่องทางโลหะวิทยา 4 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 10 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1 สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.มารุต เขียวแก่ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1 สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.มารุต เขียวแก่ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 11 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2 สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

13.00 – 17.00 น.    ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2

สถานที่; ม.มหิดล วิทยากรภายใน; 1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย  วารินศิริรักษ์ 2. อ.ดร.นพกร  ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2 (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)

15 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) ศึกษาดูงาน 17 กันยายน 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์ - ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี 13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์ ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี นำเสนอ Project 18 กันยายน 2565


08.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์ ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กรณีศึกษาก่อนและหลังการอบรม 13.00 – 17.00 น. การสอนออนไลน์ ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช 3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์ 4. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์ ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กรณีศึกษาก่อนและหลังการอบรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตารางแสดงขั้นตอนการประเมินผลหรือวิธีการวัด (Assessment) ความสามารถ และหรือ ผลการเรียนรู้ ในเชิงคุณภาพอย่างชัดเจน ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด (Assessment) ด้านความรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ การทดสอบก่อนและหลังการอบรม / การสอบวัดประเมินผล / การตอบคำถาม 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน / การสังเกตุระหว่างปฏิบัติการ 3. สามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน ด้านปัญญา 1. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ ใช้เทคนิคการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และการประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ 2. สามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน

- วิธีการวัดและประเมินผล
การจัดการเรียนการสอนโครงการสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) หลักสูตรวิศวกรรมสำหรับงานหล่อเพื่อยานยนต์ สามารถทำการวัดและประเมินผลได้ โดยแบ่งออกเป็นภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ<br />

1) ภาคทฤษฎี วัดผลจากการเข้าเรียน การสอบ-ถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การนำเสนอผลงาน หรือการทำแบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 40 จากคะแนนรวมทั้งหมด
2) ภาคปฏิบัติ วัดผลจากการปฎิบัติงานจริงตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย เกณฑ์การประเมินจะประเมินตั้งแต่ขณะทำกิจกรรมกลุ่มและลงมือปฏิบัติงานจริง ทำแบบฝึกหัดตามที่ได้รับมอบหมาย และโครงงานหรือกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติงานจริง เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 60 จากคะแนนรวมทั้งหมด
หากผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนเกินร้อยละ 50 จากคะแนนรวมทั้งภาคทฤษฏีและปฎิบัติถือว่าผ่านการอบรมครั้งนี้

  • ทักษะและสมรรถนะที่ได้ จากการจัดการเรียนการสอนโครงการสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) หลักสูตรวิศวกรรมสำหรับงานหล่อเพื่อยานยนต์ โดยร่วมกันออกแบบให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมงานหล่อ สำหรับรองรับชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ เพื่อเสริมสร้างทักษะแก่ผู้เรียนให้มีความสามารถ ศักยภาพตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมได้ร่วมกับสถานประกอบในกลุ่มงานอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ ความสามารถ ความรู้สำหรับรองรับชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ สามารถจำแนกได้ดังนี้ 1) งานแม่พิมพ์โลหะ ผู้เข้าอบรมในส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและออกแบบแม่พิมพ์ มีทักษะและสมรรถนะที่สามารถจัดทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงแม่พิมพ์ ในด้านความแข็งของแม่พิมพ์ที่มีผลต่ออายุการใช้งานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของแม่พิมพ์ และอายุการใช้งานที่ยืดยาวและลดต้นทุนของสถานประกอบการได้จริง 2) งานหล่อโลหะ ผู้ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะในงานหล่อโลหะ สามารถวิเคราะห์และการควบคุมปริมาณน้ำดินเหนียว และขนาดของเม็ดทรายในงานหล่อโลหะที่ส่งผลต่อการสร้างแบบหล่อทรายในสถานประกอบการ เพื่อให้สามารถผลิตชิ้นงานออกมาตามความต้องการของลูกค้าได้ 3) การตรวจสอบคุณภาพ ผู้ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะในการวิเคราะห์ปัญหา และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือตรวจสอบส่วนผสมทางเคมีโดยการศึกษาหลักการของเครื่องสเปกโตรมิเตอร์ เพื่อใช้เป็นข้อแนะนำแก่ทางโรงงานในการหาค่าส่วนผสมเคมีของอลูมิเนียมอินกอต เพื่อเป็นแนวทางในการลดปัญหาของเสียที่เกิดจากการใช้อลูมิเนียมอินกอตที่ไม่ได้มาตรฐาน นอกจากนั้นผู้ที่ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของอลูมิเนียมอินกอตตามมาตรฐาน JIS ADC-12 เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพของอลูมิเนียมอินกอตตามมาตรฐาน JIS ADC-12 และลดปัญหาของเสียที่เกิดจากการใช้อลูมิเนียมอินกอตที่ไม่ได้มาตรฐานได้ อย่างเหมาะสมกับสถานประกอบการ

2.6 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
1) การประเมินกลยุทธ์การสอน พิจารณาจากผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อ โดยอาจประเมินจากแบบฝึกหัด การทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน การอภิปรายโต้ตอบ การตอบคำถามของผู้เรียนในชั้นเรียน การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน พบว่าผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ และยังสามารถได้รับความรู้พื้นฐานเพิ่มเติมในศาสตร์อื่นๆ
2) การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน ผู้เรียนต้องประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล และการใช้สื่อการสอน ซึ่งเป็นไปตามแผนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
3) การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยสำรวจจาก - ผู้เรียน
- สถานประกอบการ - ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

 2.7 แสดงผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้ระบุไว้
ผลสัมฤทธิ์ที่ได้รับจากการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ สามารถแสดงได้ดังนี้

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) 1 ด้านความรู้ 1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ 2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ 3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม 4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้

2 ด้านปัญญา 1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ 2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้