directions_run

นักจัดการโลจิสติกส์มืออาชีพด้านสินค้าเกษตรและอาหารที่ต้องควบคุมอุณหภูมิ

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

 

 

 

 

ผู้เรียนติดปัญหาส่วนตัว

จากการเรียน การฝึกปฏิบัติของหลักสูตร มีความต่อเนื่องจากระยะเวลาค่อนข้างนานโดยใช้เวลา 5-6 เดือน ทำให้ผู้เรียนบางคนติดปัญหา ไม่สามารถเข้าร่วมเรียนและฝึกปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่อง จึงเสียโอกาสในการเข้าร่วมงานกับกลุ่ม

 

-จำนวนผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.5 ส่วนใหญ่เวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่ผ่านเกณฑ์ ขาดเรียน ไม่ได้ร่วมทำโครงงานกลุ่มกับสมาชิกรายอื่น ซึ่งการจัดหลักสูตรในรุ่นถัดไป ต้องกำหนดเงื่อนไข หรือมีหลักประกันให้ชัดเจน เพื่อไม่ได้เกิดความเสียโอกาสกับผู้ต้องการสมัครเรียนรายอื่นและงบประมาณที่ต้องสูญเสียไป

-ข้อเสนอจากผู้เข้าอบรม ในแต่ละครั้ง ควรให้เพิ่มเนื้อหาในภาคทฤษฎีให้มากขึ้น เพื่อปูพื้นฐานกรณีผู้เรียนบางคนไม่ได้ปฏิบัติงานตรงในส่วนหัวข้อที่บรรยาย

-ควรประชาสัมพันธ์การรับสมัครเรียนล่วงหน้าให้นานกว่านี้ เนื่องจากสมัครไม่ทัน และปิดรับเนื่องจากผู้สมัครหลักสูตรเต็ม

สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)

ในระหว่างการเรียน การฝึกปฏิบัติของหลักสูตร มีผู้เรียน วิทยากรและทีมงานติดเชื้อโควิด จึงต้องเปลี่ยนแผนงานในหลายช่วงเวลา และใช้มาตรการสำรอง เช่น เพิ่มช่องทางออนไลน์ เพิ่มมาตรการการตรวจเชื้อที่มีอยู่แล้วให้มีความรัดกุมขึ้น

ภาพประกอบมาตรการป้องกันโควิด แสดงในภาคผนวก

-

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

ความร่วมมือกับสถานประกอบการ

สถานประกอบการที่ส่งผู้เรียนเข้าร่วมหลักสูตร จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าของธุรกิจ และมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ทั้ง 4 คน คือ บริษัท อีเกิลส์ แอร์แอนด์ซี (ประเทศไทย) จำกัด

ภาพประกอบมาตรการป้องกันโควิด แสดงในภาคผนวก

บุคลากรที่ส่งมาเรียนนอกจากจะได้ความรู้ ประสบการณ์จริงไปปรับปรุง พัฒนาการทำงานประจำแล้ว ที่สำคัญอีกประการคือได้เครือข่ายคนในวงการเดียวกัน ต่อยอดธุรกิจได้อย่างชัดเจน

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

เป็นการเรียนรู้ ประยุกต์และบูรณาการกับการทำงานจริง ณ สถานประกอบการ

เกิดกลุ่มเครือข่าย จนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม ของผู้เรียน สถานประกอบการ และชุมชน

  • บริษัท ควีน โฟรเซ่นฟรุต จำกัด ตลาดไท (ล้งทุเรียน)

  • StarCat Wise Farm (กระบวนการผลิตกัญชา)

  • บริษัท ละมุน กรุ๊ป จำกัด (Ice-cream Chain)

  • ศูนย์การเรียนรู้ไมตรีจิต คลองสามวา กรุงเทพ (ผลิตภัณฑ์ชุมชน)

ภาพประกอบมาตรการป้องกันโควิด แสดงในภาคผนวก