directions_run

นวัตกรรมการจัดการจุลินทรีย์เพื่อการเกษตรสมัยใหม่ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ผู้เรียนขอหยุดเพื่อทำกิจกรรมประจำปีของศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย 24 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ชนิด บทบาท และ ความสำคัญของจุลินทรีย์ในการเกษตร 5 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ เพื่อการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

บรรยาย เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ เพื่อการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย

 

ผู้เรียนมรความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับด้านการใช้จุลินทรีย์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ ผู้เรียนสามารถแยกความแตกต่างของชนิดจุลินทรีย์ที่ใช้ในการเกษตรได้

 

ชนิด บทบาท และ ความสำคัญของจุลินทรีย์ในการเกษตร 6 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การคัดแยก ผลิต และขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตร 12 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การคัดแยก ผลิต และขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตร 12 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

หัวข้อ การคัดแยก ผลิต และขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตร 13 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การผลิตและขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในงานเกษตร 19 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การผลิตและขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในงานเกษตร 20 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การติดตามผลดำเนินงานของแกนนำกลุ่มเกษตรที่นำจุลินทรีนย์ไปใช้ด้านการเกษตร 26 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามผลการดำเนินงานต่อเนือง 27 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตรด้วยการใช้จุลินทรีย์ 3 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การผลิตและขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในงานเกษตร 4 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การเตรียมความพร้อมฟาร์มเพื่อทดสอบการใช้จุลินทรีย์ด้านปศุสัตว์ 10 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินงาน 11 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การทำพืชหมักจุลินทรีย์เพื่อไปเลี้ยงสัตว์เศรฐกิจ 17 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ทีมคณาจารย์ผู้สอนติดตามเครื่องมือเพื่อนำมาใช้ผลิตจุลินทรีย์เพื่อหมักอาการสัตว์ 18 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ผู้เรียนทำกิจรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง 7 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ผู้เรียนทำกิจรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง 8 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การเปลี่ยนวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรให้มีมูลค่าโดยใช้จุลินทรีย์ 11 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

เทคโนโลยีการหมัก การแปรรูปอาหาร และ เครื่องดื่มโดยใช้จุลินทรีย์ 18 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ทางอาหาร 24 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานด้วยการใช้จุลินทรีย์ 30 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การตลาด แนวโน้มและความต้องการของลูกค้าในธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ 3 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

การผลิตในระบบการเกษตรปลอดภัย การผลิตในระบบการเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย และ การเกษตรอินทรีย์สากล วิเคราะห์และอธิบายประเด็นปัญหาทางธุรกิจและการจัดการธุรกิจเกษตร 16 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

การปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์ 17 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

การใช้จุลินทรีย์หมักเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ 18 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

การศึกษาดูงานสถานประกอบการ 26 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

ผู้เรียนได้ขอหยุดสัปดาห์นี้เพื่อปฏิบัติงานประจำปีของศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย 24 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ผู้เรียนขอหยุกเพื่อทำกอจกรรมประจำปีของศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย ซึ่งจะมีการสอนชดเชยภายหลัง 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

-

 

-

 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ เพื่อการผลิตพืชผัก และ ผลไม้เศรษฐกิจ 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการผลิตพืชผัก ดอกไม้ และ ผลไม้เศรษฐกิจ การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ในการผลิตคะน้าฮ่องกง
การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ในการผลิตเบเบ้ฮ่องเต้ การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ในการผลิตพริกหวาน การใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ในการผลิตเมลอน

 

การบรรยายและอบรมเชิงปฏิบัติการใช้จุลินทรีย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตคะน้าฮ่องกง พริกหวาน เมล่อน และ เบบี้ฮ่ิองเต้

 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ เพื่อการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

การบรรยายและอบรมเชิงปฎิบัติการความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ผลิตปุ๋ยและชีวภัณฑ์ เพื่อการผลิตสัตว์เศรษฐกิจของประเทศไทย

 

ผู้เรียนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ที่ใช้ในงานปศุสัตว์

 

ชนิด บทบาท และ ความสำคัญของจุลินทรีย์ในการเกษตร 12 พ.ย. 2565 6 พ.ย. 2565

 

08.00-10.00 ฝึกปฏิบัติเบื้องต้นเพื่อศึกษาและการเตรียมวัตถุดิบการหมักอาหารสัตว์ด้วยจุลินทรีย์เพื่อเลี้ยงสัตว์กระเพาะรวม โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย
10.00-12.00 ฝึกปฏิบัติเบื้องต้นเพื่อศึกษาและการเตรียมวัตถุดิบการหมักอาหารสัตว์ด้วยจุลินทรีย์เพื่อเลี้ยงสัตว์กระเพาะเดี่ยวโดย นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย (พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ/ภาคสนาม)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการผสมอาหารหมักจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตสัตว์รายชนิด สูตรและการผลิตหมักจากจุลินทรีย์เพื่อผลิตอาหารสัตว์อย่างง่าย สัตว์กระเพาะเดี่ยว : ไก่ไข่ ไก่เนื้อ และ สุกร สัตว์กระเพาะรวม : โคเนื้อ โคนม
โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย โดย นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย 15.00-17.00 ฝึกปฏิบัติด้านการใช้จุลินทรีย์และชีวภัณฑ์เพื่อการผลิตสัตว์เศรษฐกิจรายชนิด โดย นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย(พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ/ภาคสนาม) คอก การจัดการฟาร์ม และ การให้อาหารเบื้องต้น
สัตว์กระเพาะเดี่ยว : ไก่ไข่ ไก่เนื้อ และ สุกร สัตว์กระเพาะรวม : โคเนื้อ โคนม
โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย

 

ผู้เรียนทราบถึงความสำคัญด้านการใช้จุลินทรีย์หมักอาหารสัตว์ ผู้เรียนสารมารถยกตัวอย่างชนิดของจุลินทรีย์ที่ใช้หมักอาหารสัตว์ได้

 

การคัดแยก ผลิต และขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตร 12 พ.ย. 2565 12 พ.ย. 2565

 

การเปิดอบรมและปฐมนิเทศหลักสูตร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก คณบดีคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา
การคัดแยก ผลิต และขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตร : เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถคัดแยก ผลิต และ ขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในการเกษตรทั้งในระดับห้องปฏิบัติการและภาคสนามได้อย่างถูกต้อง

 

ผู้เรียนมีความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ และ การนำมาใช้ทางการเกษตร

 

การฝึกปฏิบัติเพื่อผลิตและขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมพร้อมใช้ในงานเกษตร 13 พ.ย. 2565 13 พ.ย. 2565

 

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน 2565 ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย จังหวัดเชียงราย

08.00-10.00 การฝึกปฏิบัติเพื่อเตรียมวัตถุดิบและสูตรอาหารแข็ง และ สูตรน้ำ สำหรับขยายจุลินทรีย์
โดย ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา
10.00-12.00 การฝึกปฏิบัติเพื่อขยายจุลินทรีย์ด้านการผลิตพืช
โดย นายเสน่ห์ ไชยงาม ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่า (พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ/ภาคสนาม) 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 การฝึกปฏิบัติเพื่อขยายจุลินทรีย์ด้านการผลิตสัตว์
โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย
โดย รศ.ดร.โชค โสรัจกุล มหาวิทยาลัยพะเยา 15.00-17.00 การฝึกปฏิบัติเพื่อผลิตและขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมพร้อมใช้ในงานเกษตร โดย นายเสน่ห์ ไชยงาม ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่า นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย (พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ/ภาคสนาม)

 

ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อผลิตและขยายหัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมพร้อมใช้ในงานเกษตร

 

การผลิตและขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในงานเกษตร 19 พ.ย. 2565 19 พ.ย. 2565

 

08.00-09.00 บรรยาย เรื่อง ประเภทของจุลินทรีย์ที่พบในทางการเกษตร โดย ผศ.ดร.พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์ มหาวิทยาลัยพะเยา 09.00-10.00 บรรยาย เรื่อง บทบาทและความสำคัญของจุลินทรีย์ในการเกษตร
โดย ผศ.ดร.ศรัณย์ พรหมสาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน 10.00-12.00 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ประเภทของจุลินทรีย์ที่พบในการเกษตร โดย ผศ.ดร.พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์ มหาวิทยาลัยพะเยา ผศ.ดร.ศรัณย์ พรหมสาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-17.00 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ลักษณะและบทบาทของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทางการเกษตร จุลินทรีย์ในกลุ่มตรึงไนโตรเจน จุลินทรีย์ในกลุ่มย่อยสลายฟอสเฟต (พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องประชุม/อบรม) สรุปกิจกรรม และตอบข้อซักถาม โดย
ผศ.ดร.พนิตนาฎ อู่พุฒินันท์ มหาวิทยาลัยพะเยา ผศ.ดร.ศรัณย์ พรหมสาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
คุณนฤมล สุทะ มหาวิทยาลัยพะเยา

 

ผู้เรียนได้ความรู้เบื้องต้นเพื่อสังเกตจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ในการเกษตรได้

 

การผลิตและขยายจุลินทรีย์เพื่อใช้ในงานเกษตร 20 พ.ย. 2565 20 พ.ย. 2565

 

วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย จังหวัดเชียงราย 08.00-10.00 ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง ประเภทของจุลินทรีย์ที่พบในทางการเกษตร การสังเกต และ บันทึกผลลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรีย์หลังการเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย 10.00-12.00 ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การแยกเชื้อจุลินทรีย์ที่พบในทางการเกษตรอย่างง่าย
การลงเชื้อ บ่มเชื้อ สังเกต และ บันทึกผลลักษณะทางสัณฐานวิทยาของจุลินทรีย์ก่อนและหลังการเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ โดย นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-17.00 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ลักษณะและบทบาทของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทางการเกษตร การศึกษาจุลินทรีย์อย่างง่ายจากดินบริเวณปลูกหญ้า การศึกษาจุลินทรีย์อย่างง่ายจากดินบริเวณปลูกข้าวโพด การศึกษาจุลินทรีย์อย่างง่ายจากหญ้าหมัก การศึกษาจุลินทรีย์อย่างง่ายจากสับปะรดหมัก (พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่มในห้องประชุม/อบรม) ทำกิจกรรม สรุปกิจกรรม และตอบข้อซักถาม โดย
นางพรพิมล บุญวงค์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย

 

ผู้เรียนเข้าใจลักษณะและบทบาทของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทางการเกษตร และ สามารถตรวจสอบจุลินทรีย์อย่างง่ายจากผลิตภัณฑ์การเกษตร โดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ได้

 

การติดตามผลดำเนินงานของแกนนำกลุ่มเกษตรที่นำจุลินทรีนย์ไปใช้ด้านการเกษตร 26 พ.ย. 2565 26 พ.ย. 2565

 

การติดตามผลดำเนินงานด้านการนำจุลินทรีย์ไปใช้ทำกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เช่น การทำปุ๋ยหมัก การหมักอาหารสัตว์ การทำปุ๋ยชีวภาพ
การรับฟังผลดำเนินงานโดยแกนนำเกษตรกรที่เป็นผู้เรียน การให้คำปรึกษา แนะนำแนวทางดำเนินกิจกรรม

 

แกนนำเกษตรกรที่เป็นผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถ๔กต้อง มีกิจกรรมสามารถนำไปปฏิบัติจริง และ มีการใช้ในฟาร์มสาฑิต พร้อมติดตามผลได้จริงที่บ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

 

การติดตามผลดำเนินงานของแกนนำกลุ่มเกษตรที่นำจุลินทรีนย์ไปใช้ด้านการเกษตร 27 พ.ย. 2565 27 พ.ย. 2565

 

ติตามแกนนำเกษตรกรฟาร์มเกษตรกร ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

 

ผู้รียนที่เป็นแกนนำเข้าใจกานนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชน์ในการเกษตร พร้อมขยายผลได้

 

การใช้จุลินทรีย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตผลการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี 3 ธ.ค. 2565 3 ธ.ค. 2565

 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถบูรณาการความรู้ในการใช้จุลินทรีย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตผลการเกษตรชนิดต่างๆ ได้แก่ ข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และ ไม้ดอก ตั้งแต่ก่อนการปลูก การปลูก การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และการแปรรูป เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดีในสภาพการเพาะปลูกที่เป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้ในการผลิตเพื่อยกระดับการผลิตภาคการเกษตรของไทยให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น

 

ผู้เรียนได้มีทักษะการผลิตจุินทรีย์แย่างง่ายเพื่อใช้งานด้านการเกษตร

 

การติดตามผลดำเนินงานฟาร์มต้นแบบเกษตรกรแกนนำ การใช้จุลินทรีย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตผลการเกษตร การผลิตปุ๋ยชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ 4 ธ.ค. 2565 4 ธ.ค. 2565

 

การใช้จุลินทรีย์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตผลการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี ประยุกต์ใช้จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ในการผลิตข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และไม้ดอก เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี การผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง การผลิตปุ๋ยชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ จากผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ พด.

 

เกษตกร ผู้เรียนสามารถผลิตการผลิตปุ๋ยชีวภาพและน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตร และ ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

 

การลงพื้นที่เตรียมความพร้อมฟาร์มเพื่อทดสอบการใช้จุลินทรีย์ด้านปศุสัตว์ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 10 ธ.ค. 2565 10 ธ.ค. 2565

 

การลงพื้นที่เตรียมความพร้อมฟาร์มเพื่อทดสอบการใช้จุลินทรีย์ด้านปศุสัตว์ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงราย ตำบลบ้านดู่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ได้แก่ การเตรียมสถานที่ทำหญ้าหมัก การเตรียมคอกทดสอบ

 

ได้สถานที่ / ฟาร์ม / และ แปลงทดสอบสำหรับเรียนรู้การทำกิจกรรมเพื่อใช้ในการเรียนการสอน

 

ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินงา 11 ธ.ค. 2565 11 ธ.ค. 2565

 

ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินงาน

 

ติดตามความก้าวหน้าผลดำเนินงาเพ ่อเตรีนมแปลง แะ ฟาร์สาธิตเย่างน้อย 1 กลุ่ม

 

การทำหญ้าหมัก สับปะรดหมักจุลินทรีย์เพื่อไปใช้เลี้ยงสัตว์ของแต่ละกลุ่มผู้เรียน 17 ธ.ค. 2565 17 ธ.ค. 2565

 

การทำหญ้าหมัก สับปะรดหมักจุลินทรีย์เพื่อไปใช้เลี้ยงสัตว์ของแต่ละกลุ่มผู้เรียน ได้แก่ ฟาร์มโคเนื้อ โคนม และ ไก่ไข่

 

ผู้เรียนได้มีสถานที่ทดสอบภาคสนามเพื่อใช้ทดสอบการใช้พืชหมักไปเลี้ยงสัตว์เป็นแหล่งเรียนรู้ได้

 

การติดตามเครื่องมือเพื่อนำมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอาหารหมักจุลินทรีย์ 18 ธ.ค. 2565 18 ธ.ค. 2565

 

ผู้สอน คือ ดร.ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ มหาวิทยาลัยพะเยา / นางพรวิมล บุญวงศ์ และ นายชัยณรงค์ วงศ์สรรศรี / แกนนำเกษตรกรที่เป็นผู้เรียนเดินทางมาศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์เชียงรายเพื่อตรวจสอบเครื่องมือสำหรับนำไปใช้ในในการเรียนการอสนด้านการหมักอาหารสัตว์ด้วยจุลินทรีย์

 

ได้เครือข่ายความร่วมมือกะบศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์ลำปา งและ เครื่องมือสำหรับนำไปใช้เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน เช่น เครื่องบรรจุสับปะรดหมัก

 

การทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง 7 ม.ค. 2566 7 ม.ค. 2566

 

การทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ณ ฟาร์ม สถานประกอบการของตนเอง

 

การทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ณ ฟาร์ม สถานประกอบการของตนเอง เช่น การหมักจุลุนทรีย์ใช้ในการเลี้ยงโค ไก่ และ กระบือ

 

ผู้เรียนทำกิจรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง 8 ม.ค. 2566 8 ม.ค. 2566

 

ผู้เรียนทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ณ ฟาร์ม สถานที่ปฏิบัติงานของตนเอง

 

ผู้เรียนทำกิจกรรมเรียนรู้ด้วยตนเอง ณ ฟาร์ม สถานที่ปฏิบัติงานของตนเอง

 

การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหมัก และการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักจากเศษเหลือทิ้งจากการตัดแต่งผลไม้ 11 ม.ค. 2566 11 ม.ค. 2566

 

  1. การซักถามและการทบทวนความรู้เดิม และบรรยายให้ความรู้พื้นฐานเรื่อง ความสำคัญของการหมัก ชนิดของจุลินทรีย์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง
  2. การยกตัวอยางกระบวนการหมักรูปแบบต่าง ๆ และตัวอยางผลิตภัณฑ์หมักทางการเกษตร
  3. ฝึกปฏิบัติการเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในการหมัก
  4. ฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักจากเศษเหลือทิ้งจากการตัดแต่งสับปะรดภูแล ซึงเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดเชียงราย

 

  1. ผู้เรียนทราบถึงหลักการพื้นฐานของกระบวนการหมัก เห็นความสำคัญของการหมักในการเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
  2. ผู้เรียนทราบถึงชนิดของจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์หมักชนิดต่าง ๆ
  3. ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบ รู้วิธีการใช้งานอุปกรณ์ทีเกี่ยวข้อง และได้เรียนรู้และลงมือทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมัก 2 ชนิด ได้แก่ ไวน์สับปะรด และเทปาเชจากเศษเหลือทิ้งจากการตัดแต่งสับปะรดภูแล

 

การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุทางการเกษตร การทำวัสดุชีวภาพ 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566

 

  1. ฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักจากเศษเหลือทิ้งจากการตัดแต่งสับปะรดภูแล (รายบุคคล)
  2. ฝึกปฏิบัติเพื่อสังเกตและติดตามผลของการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมัก
  3. ฝึกปฏิบัติการเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และแนวทางการใช้ประโยชน์วัสดุชีวภาพในด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม

 

  1. ผู้เรียนได้ทบทวนและฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักเป็นรายบุคคล
  2. ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการติดตามผลของกระบวนการหมักผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม ตลอดระยะ 1-2 สัปดาห์
  3. ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ทีเกี่ยวข้อง ได้เรียนรู้และลงมือทำผลิตภัณฑ์วัสดุชีวภาพจากเศษเหลือของสับปะรดภูแล

 

การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้การทำผลิตภัณฑ์อาหารหมักเพื่อสุขภาพ : กิมจิ 18 ม.ค. 2566 18 ม.ค. 2566

 

  1. การทบทวนความรู้ความเข้าใจ และการติดตามวัดผลการหมักผลิตภัณฑ์ไวน์และเทปาเช่จากสับปะรด
  2. การสร้างกรอบแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักจากวัตถุดิบในท้องถิ่น
  3. การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ในการทำผลิตภัณฑ์กิมจิ
  4. ฝึกปฏิบัติการเตรียมผลิตภัณฑ์กิมจิ

 

  • ผู้เรียนมีความสนใจ และรวมกลุ่มกันเพื่อวางแผนการทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักและอาหารหมักสำหรับงานเทศกาลต่าง ๆ ในหน่วยงาน และครอบครัว
  • ผู้เรียนสนใจที่จะนำความรู้ไปใช้ต่อยอดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ของชุมชน โดยเฉพาะในช่วงที่มีผักและผลไม้ล้นตลาด หรือราคาตกต่ำ

 

การทำผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ : โยเกิร์ตและไซเดอร์ 19 ม.ค. 2566 19 ม.ค. 2566

 

  1. การทบทวนความรู้ด้านจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมัก คุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตและไซเดอร์
  2. แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซเดอร์จากวัตถุดิบในท้องถิ่น
  3. การเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ในการทำผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตและไซเดอร์
  4. ฝึกปฏิบัติการทำผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตและไซเดอร์

 

  1. ผู้เรียนได้แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบที่มีความหลากหลายตามฤดูกาลในพื้นที่ชุมชน
  2. ผู้เรียนได้เรียนรู้การทำผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มโดยอาศัยกระบวนการหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ และการใช้หัวเชื้อบริสุทธิ์ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในการทำงานและชีวิตประจำวัน

 

การทำปลาส้ม และการตรวจสอบแบคทีเรียจากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม 24 ม.ค. 2566 24 ม.ค. 2566

 

การบรรยายให้ความรู้เรื่อง "ความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ทางอาหาร และการจำแนก ระบุชนิด ลักษณะเบื้องต้นของจุลินทรีย์บางชนิดที่ใช้ในการแปรรูปอาหาร การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่่อง "การทำปลาส้ม และการตรวจสอบแบคทีเรียจากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม"

 

ผู้เรียนเข้าใจวิธีการในการทำปลาส้ม และการตรวจสอบแบคทีเรียจากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม ในส่วนของการทำปลาส้ม ผู้เเรียนสนใจสูตร และขั้นตอนการทำเป็นพิเศษ โดยมีการวางแผนที่จะนำปลาที่ผลิตได้ภายในท้องถิ่นมาทำปลาส้ม เพื่อให้เกิดรายได้เพิ่มมากขึ้นในชุมชน

 

การตรวจติดตามการหมักปลาส้ม และการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ จากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม วันที่ 1 25 ม.ค. 2566 25 ม.ค. 2566

 

1.ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของปลาส้มที่หมักในวันที่ 1 โดยสังเกตจากสีของปลาส้มว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ มีน้ำใส ๆ เกิดขึ้นหรือไม่ ให้สังเกต จดบันทึก และถ่ายรูป ซึ่งมีบางส่วนที่อยากลองรับประทานแบบไม่เปรี้ยว ก็นำไปรับประทานในวันที่ 1
2. ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ได้แก่ Lactic acid bacteria, Total plate count และ Escherichia coli ที่ได้ทำการตรวจสอบไว้ โดยทำการ spread plate ที่ความเจือจางระดับต่าง ๆ ในวันที่ 1 โดยสังเกตว่ามีจุดโคโลนีของในจานอาหารเลี้ยงเชื้อใดบ้าง บันทึก และถ่ายรูป

 

  1. ผู้เรียนทราบลักษณะของปลาส้มในการหมักวันที่ 1
  2. ผู้เรียนทราบว่า มีเชื้อชนิดใดบ้างที่พบในปลาส้มที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ และระดับความเจือจางเท่าใด ในวันที่ 1

 

การตรวจติดตามการหมักปลาส้ม และการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ จากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม วันที่ 2 26 ม.ค. 2566 26 ม.ค. 2566

 

1.ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของปลาส้มที่หมักในวันที่ 2 โดยสังเกตจากสีของปลาส้มว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ มีน้ำใส ๆ เกิดขึ้นหรือไม่ ให้สังเกต จดบันทึก และถ่ายรูป ซึ่งพบว่าในวันที่ 2 ปลาส้มมีน้ำออกมามากกว่าวันที่ 1 และมีกลิ่นเปรี้ยวแล้ว จึงนำไปรับประทานหลังจากถ่ายรูปเสร็จ
2. ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ได้แก่ Lactic acid bacteria, Total plate count และ Escherichia coli ที่ได้ทำการตรวจสอบไว้ โดยทำการ spread plate ที่ความเจือจางระดับต่าง ๆ ในวันที่ 2 โดยสังเกตว่ามีจุดโคโลนีของในจานอาหารเลี้ยงเชื้อใดบ้าง บันทึก และถ่ายรูป โดยในวันที่ 2 ขนาดของโคโลนีมีขนาดใหญ่และชัดเจนขึ้น และมีบางส่วนที่ไม่มีแบคทีเรียเจริญอยู่ จานอาหารไหนที่ยังไม่มีแบคทีเรีย ให้ทำการบ่มต่อในพรุ่งนี้อีก 1 วัน

 

  1. ผู้เรียนทราบลักษณะของปลาส้มในการหมักวันที่ 2
  2. ผู้เรียนทราบว่า  มีเชื้อชนิดใดบ้างที่พบในปลาส้มที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ และระดับความเจือจางเท่าใด ในวันที่ 2

 

การตรวจติดตามการหมักปลาส้ม และการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ จากผลิตภัณฑ์ปลาส้ม วันที่ 3 27 ม.ค. 2566 27 ก.ย. 2565

 

1.ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของปลาส้มที่หมักในวันที่ 3 ว่าปลาส้มมีลักษณะเป็นเช่นไร แต่เนื่องจากในวันที่ 2 ปลาส้มมีความเปรี้ยวที่พอเหมาะกับการรับประทานแล้ว ผู้เรียนได้นำปลาส้มไปรับประทาน จึงไม่มีผลของการหมักปลาส้มวันที่ 3
2.ให้ผู้เรียนตรวจสอบการเจริญของแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ ได้แก่ Lactic acid bacteria, Total plate count และ Escherichia coli ที่ได้ทำการตรวจสอบไว้ โดยทำการ spread plate ที่ความเจือจางระดับต่าง ๆ ในวันที่ 3 แต่เนื่องจากในวันที่ 2 โดยส่วนใหญ่ เชื้อที่เจริญแล้ว มีโคโลนีที่เจริญเต็มที่ เห็นได้ชัด จึงได้เก็บเข้าตู้เย็นเรียบร้อยแล้ว ส่วนในจานอาหารที่ไม่มีเชื้อเจริญ ได้บ่มต่อจนถึงวันที่ 3 แต่ก็ไม่มีเชื้อเจริญ แสดงว่าในตัวอย่างนั้นไม่มีเชื้อเจริญแต่อย่างได โดยผู้เรียนจะสรุปผลในภาพรวมส่งให้ผู้สอนในภาคหลัง และผู้สอนจะให้ข้อเสนอแนะต่อผลการศึกษาในครั้งนี้ด้วย

 

  1. ผู้เรียนทราบลักษณะของปลาส้มในการหมักวันที่ 3
  2. ผู้เรียนทราบว่า  มีเชื้อชนิดใดบ้างที่พบในปลาส้มที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ และระดับความเจือจางเท่าใด ในวันที่ 3

 

การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานด้วยการใช้จุลินทรีย์ 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

บรรยาย ถามตอบ เกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานด้วยการใช้จุลินทรีย์ โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืช แมลงศัตรูพืชและโรคพืชที่มีความสำคัญและการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานด้วยการใช้จุลินทรีย์  การเลือกใช้สารป้องกันจัดศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ และการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี  การสาธิตการขยายพันธุ์จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการใช้ป้องกันกำจัดโรคพืช เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมศัตรูพืชได้

 

ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานด้วยการใช้จุลินทรีย์ การขยายเชื้อไตรโครเดอร์มา เพื่อนำไปใช้ควบคุมโรคพืช เนื่องจากผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรที่ปลูกพืช

 

ฟังบรรยายทางด้านการตลาด การจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์หมักในกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม และฝึกปฎิบัติการตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นและทดสอบทางประสาทสัมผัสผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักเพื่อสุขภาพ 3 ก.พ. 2566 3 ก.พ. 2566

 

ฟังบรรยาย “แนวโน้มและความต้องการของลูกค้าในธุรกิจผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ” ฟังบรรยาย  “การจัดและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หมักกลุ่มเครื่องดื่มสุขภาพเชิงธุรกิจเกษตร” การบรรยายเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นและทดสอบทางประสาทสัมผัสผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ”

 

ผู้เรียนมีแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มหมักตามเทรนด์ในกลุ่มลูกค้าต่าง ๆ ทั้งกลุ่มผู้รักสุขภาพ และกลุ่มผูสูงอายุ /ผู้เรียนสามารถทดสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางด้านการมองเห็น การดมกลิ่น และการชืมรส โดยใช้หลักการในคะแนนแบบ Hedonic Scaling

 

การผลิตในระบบการเกษตรปลอดภัย การผลิตในระบบการเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย และ การเกษตรอินทรีย์ วิเคราะห์และอธิบายประเด็นปัญหาทางธุรกิจและการจัดการธุรกิจเกษตรสากล 16 มี.ค. 2566 16 มี.ค. 2566

 

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง การผลิตในระบบการเกษตรปลอดภัย การผลิตในระบบการเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย และ การเกษตรอินทรีย์สากล
  2. ฟังการบรรยาย เรื่อง วิเคราะห์และอธิบายประเด็นปัญหาทางธุรกิจและการจัดการธุรกิจเกษตร

 

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการผลิตในระบบการเกษตรปลอดภัย
  2. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการผลิตในระบบการเกษตรอินทรีย์ประเทศไทย และ การเกษตรอินทรีย์สากล
  3. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และอธิบายประเด็นปัญหาทางธุรกิจและการจัดการธุรกิจเกษตรได้

 

การปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์ 17 มี.ค. 2566 17 มี.ค. 2566

 

  1. ฟังการบรรยาย เรื่องการปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์
  2. ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยจุลินทรีย์

 

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยจุลินทรีย์
  2. ผู้เรียนสามารทำปุ๋ย และปุ๋ยจุลินทรีย์ได้

 

การใช้จุลินทรีย์หมักเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ 18 มี.ค. 2566 18 มี.ค. 2566

 

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง การใช้จุลินทรีย์หมักเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์
  2. ฝึกปฏิบัติการใช้จุลินทรีย์หมักเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์
  3. ฝึกปฏิบัติการหมักและผสมอาหารเพื่อเลี้ยงสัตว์กระเพาะเดี่ยว

 

  1. ผู้เรียนมีความเข้าใจและมีวิธีปฏิบัติที่ดีในการใช้จุลินทรีย์ในการเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์ และ ต่อยอดแนวคิดในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาเป็นสูตรอาหารสัตว์ชนิดต่างๆ
  2. ผู้เรียนสามารถใช้จุลินทรีย์หมักเพื่อเพิ่มผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์
  3. ผู้เรียนสามารถทำอาหารหมักและผสมอาหารเพื่อเลี้ยงวัตว์ได้

 

ศึกษาดูงานสถานประกอบการ 26 มี.ค. 2566 26 มี.ค. 2566

 

  1. ศึกษาดูงาน ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มหมูดำเหมยซานเกษตรพอเพียง อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
  2. ศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติ ณ กลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ผู้ผลิตโคเนื้อ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา

 

  1. ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการผลิตอาหารและการเลี้ยงหมูดำเหมยซาน
  2. ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการผลิตข้าวและการแปรรูปข้าวอินทรีย์
  3. ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการตลาดและการจัดการผลิตภัณฑ์การเกษตร
  4. ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
  5. ผู้เรียนทราบถึงหลักการจัดการฟาร์มโคเนื้อ การทำอาหารหมักสำหรับสัตว์เคี้ยงเอื้อง
  6. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติวิธีควบคุมและป้องกันจุลินทรีย์ก่อโรคในปศุสัตว์ และอาหารและจุลินทรีย์ในการผลิตอาหารสัตว์