แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
“ ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0064 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้มีความสามารถดำเนินธุรกิจในรูปแบบธุรกิจเพื่อสังคมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะการทำธุรกิจเพื่อสังคม พร้อมอธิบายลักษณะลูกค้า แผนการตลาด แผนธุรกิจ และประเมินผลกระทบทางสังคมของธุรกิจเพื่อสังคมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อการนำไปปรับใช้ในการเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม หรือวิสาหกิจเพื่อสังคม
(2) ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะการวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน และสามารถนำปัญหามาออกแบบแผนธุรกิจเพื่อสังคมได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทของชุมชนได้เป็นอย่างดี และสามารถเริ่มต้นการดำเนินเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม หรือวิสาหกิจเพื่อสังคมได้ด้วย โดยเริ่มตั้งแต่การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน ตลอดจนการนำปัญหามาแก้ไข และส่งเสริมให้กลุ่มมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น
(3) ผู้เรียนสามารถออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์ โลโก้ และแผนธุรกิจ (Business Model Canvas : BMC) ได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบผสมผสานให้ตรงกับกลุ่มผู้เรียนมากที่สุด
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การปฐมนิเทศ ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 1 ครั้ง จำนวน 1 สัปดาห์)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : BCG Model (เรียนจำนวน 1 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลผู้ประกอบการเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง : การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน (เรียนจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 3 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : การตลาดสมัยใหม่ (เรียนจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลผู้ประกอบการเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 4 ครั้ง จำนวน 4 สัปดาห์)
- ซื้อวัสดุสำนักงาน
- ซื้อวัสดุสำนักงาน (ผงหมึกเครื่องถ่ายเอกสาร)
- ซื้อวัสดุสำนักงาน
- จ้างทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- จ้างเหมาาเช่ารถยนต์ปรับอากาศ จำนวนไม่น้อยกว่า 45 ที่นั่ง 1 คัน
- กิจกรรมถอดบทเรียนผู้อบรม (เรียนจำนวน 1 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- จ้างถ่ายเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- ซื้อวัสดุสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร (เรียนจำนวน 3 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- จ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- จ้างจัดทำรูปเล่มรายงานสรุปผลการดำเนินงานหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- ซื้อวัสดุสำนักงานสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- ซื้อวัสดุสำนักงานสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- การปฐมนิเทศ ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise) ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ ในรูปแบบออนไลน์ Google Meet
- พิธีเปิดและการอบรมหัวข้อ BCG Model - Sufficiency economy in Regenerative business - ธุรกิจกับความยั่งยืน (SDGs , BCG Model) ความหมายของ BCG ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ระบบเศรษฐกิจสีเขียว - รูปแบบธุรกิจ และกรณีศึกษา
- การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - กระบวนการในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน
- การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - การประเมินศักยภาพและปัญหาของชุมชนท้องถิ่นเพื่อนำมาสู่การคัดเลือกประเด็นในการจัดทำธุรกิจเพื่อสังคม - นำเสนอศักยภาพและปัญหาของชุมชนท้องถิ่นที่ได้เลือกศึกษาไว้ - ฝึกประเมินศักยภาพและปัญหาชุมชนผ่านชุมชนต้นแบบ
- ธุรกิจเพื่อสังคม - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับธุรกิจทั่วไป - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคม - การแสวงหาแหล่งทุน
- ธุรกิจเพื่อสังคม - การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสังคม - นำเสนอความคิดธุรกิจเพื่อสังคม และแนวทางการบริหารจัดการ
- ธุรกิจเพื่อสังคม - แผนธุรกิจทั่วไป (BMC) - แผนธุรกิจเพื่อสังคมในรูปแบบ (BMCC)
- การตลาดสมัยใหม่ - การสร้างแบรนด์
- การตลาดสมัยใหม่ - การตลาดสมัยใหม่ - กลยุทธ์ทางการตลาดสมัยใหม่ - ตลาดดิจิทัล
- ธุรกิจเพื่อสังคม - หลักการพื้นฐานของการประเมินผลกระทบทางสังคม - ฝึกปฏิบัติประเมินผลกระทบทางสังคม
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกนำโจทย์ชุมชนท้องถิ่นมาเป็นประเด็นในการออกแบบ
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกปฏิบัติการเพื่อเรียนรู้ การดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมในสถานประกอบการจริง - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกปฏิบัติการเพื่อเรียนรู้ การดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมในสถานประกอบการจริง - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - นำเสนอแผนธุรกิจเพื่อสังคม
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายนอกพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- กิจกรรมถอดบทเรียนผู้อบรม
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0064
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
“ ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0064 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้มีความสามารถดำเนินธุรกิจในรูปแบบธุรกิจเพื่อสังคมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะการทำธุรกิจเพื่อสังคม พร้อมอธิบายลักษณะลูกค้า แผนการตลาด แผนธุรกิจ และประเมินผลกระทบทางสังคมของธุรกิจเพื่อสังคมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อการนำไปปรับใช้ในการเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม หรือวิสาหกิจเพื่อสังคม (2) ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะการวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน และสามารถนำปัญหามาออกแบบแผนธุรกิจเพื่อสังคมได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทของชุมชนได้เป็นอย่างดี และสามารถเริ่มต้นการดำเนินเป็นกลุ่มกิจการเพื่อสังคม หรือวิสาหกิจเพื่อสังคมได้ด้วย โดยเริ่มตั้งแต่การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน ตลอดจนการนำปัญหามาแก้ไข และส่งเสริมให้กลุ่มมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น (3) ผู้เรียนสามารถออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์ โลโก้ และแผนธุรกิจ (Business Model Canvas : BMC) ได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ปรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบผสมผสานให้ตรงกับกลุ่มผู้เรียนมากที่สุด
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การปฐมนิเทศ ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 1 ครั้ง จำนวน 1 สัปดาห์)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : BCG Model (เรียนจำนวน 1 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลผู้ประกอบการเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง : การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน (เรียนจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 3 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลธุรกิจเพื่อสังคมอย่างยั่งยืน : การตลาดสมัยใหม่ (เรียนจำนวน 2 ครั้ง จำนวน 2 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- โมดูลผู้ประกอบการเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง : ธุรกิจเพื่อสังคม (เรียนจำนวน 4 ครั้ง จำนวน 4 สัปดาห์)
- ซื้อวัสดุสำนักงาน
- ซื้อวัสดุสำนักงาน (ผงหมึกเครื่องถ่ายเอกสาร)
- ซื้อวัสดุสำนักงาน
- จ้างทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- จ้างเหมาาเช่ารถยนต์ปรับอากาศ จำนวนไม่น้อยกว่า 45 ที่นั่ง 1 คัน
- กิจกรรมถอดบทเรียนผู้อบรม (เรียนจำนวน 1 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- ค่าล่วงเวลาเงินนอกงบประมาณ
- จ้างถ่ายเอกสารประกอบการจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- ซื้อวัสดุสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร (เรียนจำนวน 3 ครั้ง 1 สัปดาห์)
- จ้างทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- จ้างจัดทำรูปเล่มรายงานสรุปผลการดำเนินงานหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง
- ซื้อวัสดุสำนักงานสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- ซื้อวัสดุสำนักงานสำหรับจัดกิจกรรมติดตามและหนุนเสริมผู้เรียนหลังจบหลักสูตร
- การปฐมนิเทศ ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการอบรมหลักสูตรธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise) ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ ในรูปแบบออนไลน์ Google Meet
- พิธีเปิดและการอบรมหัวข้อ BCG Model - Sufficiency economy in Regenerative business - ธุรกิจกับความยั่งยืน (SDGs , BCG Model) ความหมายของ BCG ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ระบบเศรษฐกิจสีเขียว - รูปแบบธุรกิจ และกรณีศึกษา
- การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - เครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - กระบวนการในการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน
- การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน - การประเมินศักยภาพและปัญหาของชุมชนท้องถิ่นเพื่อนำมาสู่การคัดเลือกประเด็นในการจัดทำธุรกิจเพื่อสังคม - นำเสนอศักยภาพและปัญหาของชุมชนท้องถิ่นที่ได้เลือกศึกษาไว้ - ฝึกประเมินศักยภาพและปัญหาชุมชนผ่านชุมชนต้นแบบ
- ธุรกิจเพื่อสังคม - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับธุรกิจทั่วไป - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคม - การแสวงหาแหล่งทุน
- ธุรกิจเพื่อสังคม - การบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสังคม - นำเสนอความคิดธุรกิจเพื่อสังคม และแนวทางการบริหารจัดการ
- ธุรกิจเพื่อสังคม - แผนธุรกิจทั่วไป (BMC) - แผนธุรกิจเพื่อสังคมในรูปแบบ (BMCC)
- การตลาดสมัยใหม่ - การสร้างแบรนด์
- การตลาดสมัยใหม่ - การตลาดสมัยใหม่ - กลยุทธ์ทางการตลาดสมัยใหม่ - ตลาดดิจิทัล
- ธุรกิจเพื่อสังคม - หลักการพื้นฐานของการประเมินผลกระทบทางสังคม - ฝึกปฏิบัติประเมินผลกระทบทางสังคม
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกนำโจทย์ชุมชนท้องถิ่นมาเป็นประเด็นในการออกแบบ
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกปฏิบัติการเพื่อเรียนรู้ การดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมในสถานประกอบการจริง - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ฝึกปฏิบัติการเพื่อเรียนรู้ การดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมในสถานประกอบการจริง - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - นำเสนอแผนธุรกิจเพื่อสังคม
- ผู้ประกอบการเพื่อสังคม - ศึกษาดูงานธุรกิจเพื่อสังคมภายนอกพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
- กิจกรรมถอดบทเรียนผู้อบรม
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
- กิจกรรมติดตามผู้อบรมหลังจบหลักสูตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ธุรกิจเพื่อสังคมสู่การเปลี่ยนแปลง (Social Enterprise for change) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0064
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......