แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
“ การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0128 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน 1. สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีในกรรมวิธีผลิตผ้าฝ้ายทอมือธรรมชาติให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
2. สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบผ้าฝ้ายทอมือที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชนและมีอัตลักษณ์ตรงกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และ 3. สามารถออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อจำหน่ายผ้าฝ้ายทอมือ โดยมีผู้เรียนทั้งหมด 40 ราย จัดการเรียนการสอน ณ บ้านท่่าสว่าง ต.ท่าสว่าง อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ จัดการเรียนการสอนด้วยภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติภายใต้จำนวนชั่วโมง 285 ชั่วโมง โดยภาคปฏิบัติจะเน้นการลงมือปฏิบัติจริง การปฏิบัติซ้ำ การทดลองและการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ตลอดจนเน้นการระดมสมองเสนอแนะแนวคิด และสะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละขั้นตอน จากวิทยากรที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ประกอบการณ์เชิงพาณิชย์ด้านผ้า ซึ่งมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ
ได้แก่ ผู้เรียนสามารถอธิบายกรรมวิธีการผลิตผ้าฝ้ายที่ถูกต้อง การย้อมผ้าด้วยวัตถุดิบธรรมชาติ สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีเพื่อย้อมผ้าฝ้ายทอมือให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
สามารถวิเคราะห์คุณลักษณะผ้าฝ้ายทอมือและอัตลักษณ์รวมทั้งออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบผ้าฝ้ายทอมือธรรมชาติ และนำมาวิเคราะห์ต้นทุนและจุดคุ้มทุนเพื่อกำหนดราคาขาย และกำหนดตำแหน่งทางการตลาดรวมถึง
สร้างสรรค์เนื้อหาทางการตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์ผ้าฝ้ายทอมือได้ และสามารถที่จะนำไปผลิตต่อยอดเป็นอาชีพสร้างรายได้ในปัจจุบันและอนาคตได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ในทุกขั้นตอนการเรียนรู้จำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมืดจากผู้เรียนในการทดลองปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะซึ่งการทอผ้าต้องอาศัยการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องที่จะทำให้เกิดความเชี่ยวชาญ ดังนั้น ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเองและใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0128
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
“ การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0128 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน 1. สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีในกรรมวิธีผลิตผ้าฝ้ายทอมือธรรมชาติให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
2. สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบผ้าฝ้ายทอมือที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชนและมีอัตลักษณ์ตรงกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย และ 3. สามารถออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อจำหน่ายผ้าฝ้ายทอมือ โดยมีผู้เรียนทั้งหมด 40 ราย จัดการเรียนการสอน ณ บ้านท่่าสว่าง ต.ท่าสว่าง อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ จัดการเรียนการสอนด้วยภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติภายใต้จำนวนชั่วโมง 285 ชั่วโมง โดยภาคปฏิบัติจะเน้นการลงมือปฏิบัติจริง การปฏิบัติซ้ำ การทดลองและการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ตลอดจนเน้นการระดมสมองเสนอแนะแนวคิด และสะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละขั้นตอน จากวิทยากรที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ประกอบการณ์เชิงพาณิชย์ด้านผ้า ซึ่งมีผลการดำเนินงานที่สำคัญ
ได้แก่ ผู้เรียนสามารถอธิบายกรรมวิธีการผลิตผ้าฝ้ายที่ถูกต้อง การย้อมผ้าด้วยวัตถุดิบธรรมชาติ สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีเพื่อย้อมผ้าฝ้ายทอมือให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
สามารถวิเคราะห์คุณลักษณะผ้าฝ้ายทอมือและอัตลักษณ์รวมทั้งออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบผ้าฝ้ายทอมือธรรมชาติ และนำมาวิเคราะห์ต้นทุนและจุดคุ้มทุนเพื่อกำหนดราคาขาย และกำหนดตำแหน่งทางการตลาดรวมถึง
สร้างสรรค์เนื้อหาทางการตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์ผ้าฝ้ายทอมือได้ และสามารถที่จะนำไปผลิตต่อยอดเป็นอาชีพสร้างรายได้ในปัจจุบันและอนาคตได้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ในทุกขั้นตอนการเรียนรู้จำเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมืดจากผู้เรียนในการทดลองปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะซึ่งการทอผ้าต้องอาศัยการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่องที่จะทำให้เกิดความเชี่ยวชาญ ดังนั้น ผู้เรียนต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเองและใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือ (Development and raise workforce skills of hand-woven cotton product) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0128
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......