directions_run

หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด


“ หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN66/0086 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร



บทคัดย่อ

หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยประเภทประกาศนียบัตร (Non-degree) หลักสูตร 285 ชั่วโมง โดยจัดการเรียนการสอนเป็น 3 โมดูล ดังนี้ โมดูลที่ 1 การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสร้างสรรค์ในชุมชน โมดูลที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรอย่างสร้างสรรค์ และโมดูลที่ 3 การสื่อสารและการออกแบบสื่อเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสร้างสรรค์
ผู้เข้ารับการอบรม ประกอบไปด้วย กลุ่มผู้ประกอบการด้านการเกษตร ผู้ประกอบการด้านที่พักและโฮมสเตย์ กลุ่ม Young Smart Farmer กลุ่มเกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด กลุ่มข้าราชการบำนาญที่สนใจทำการเกษตร กลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ส่วนกลุ่มผู้สอนและวิทยากรพิเศษได้แก่คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย วิทยากรจากหน่วยงานร่วมผลิต (MOU Partners) ผู้ประกอบการด้านการเกษตร ผู้บริหารหน่วยงาน และผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การจัดการศึกษามีทั้งการเรียนรู้ในสถานที่และการเรียนทางออนไลน์ สถานที่ที่ใช้ในการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ และการศึกษาดูงาน ได้แก่ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด วิทยาเขตเพชรบุรี ด่านกักกันสัตว์เพชรบุรี สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์การเรียนรู้เชิงท่องเที่ยวด้านปศุสัตว์ (มาลัยฟาร์ม ณ ชะอำ) สวนเพชรเกาะเกษตรอินทรีวิถีไทย โรงงานปลาหวาน ช.จ้าวสมุทรจังหวัดราชบุรี วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอกจังหวัดสมุทรสงคราม และโรงแรมริเวอร์ตันจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรในรุ่นที่ 1 มีผู้เข้ารับการอบรมและผ่านการประเมินตามเกณฑ์ของหลักสูตรทั้งสิ้น จำนวน 34 คน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 34
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยประเภทประกาศนียบัตร (Non-degree) หลักสูตร 285 ชั่วโมง โดยจัดการเรียนการสอนเป็น 3 โมดูล ดังนี้ โมดูลที่ 1 การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสร้างสรรค์ในชุมชน โมดูลที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตรอย่างสร้างสรรค์ และโมดูลที่ 3 การสื่อสารและการออกแบบสื่อเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสร้างสรรค์
    ผู้เข้ารับการอบรม ประกอบไปด้วย กลุ่มผู้ประกอบการด้านการเกษตร ผู้ประกอบการด้านที่พักและโฮมสเตย์ กลุ่ม Young Smart Farmer กลุ่มเกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด กลุ่มข้าราชการบำนาญที่สนใจทำการเกษตร กลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ส่วนกลุ่มผู้สอนและวิทยากรพิเศษได้แก่คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย วิทยากรจากหน่วยงานร่วมผลิต (MOU Partners) ผู้ประกอบการด้านการเกษตร ผู้บริหารหน่วยงาน และผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน การจัดการศึกษามีทั้งการเรียนรู้ในสถานที่และการเรียนทางออนไลน์ สถานที่ที่ใช้ในการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติ และการศึกษาดูงาน ได้แก่ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด วิทยาเขตเพชรบุรี ด่านกักกันสัตว์เพชรบุรี สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบุรี ศูนย์การเรียนรู้เชิงท่องเที่ยวด้านปศุสัตว์ (มาลัยฟาร์ม ณ ชะอำ) สวนเพชรเกาะเกษตรอินทรีวิถีไทย โรงงานปลาหวาน ช.จ้าวสมุทรจังหวัดราชบุรี วิสาหกิจชุมชนเกษตรสวนนอกจังหวัดสมุทรสงคราม และโรงแรมริเวอร์ตันจังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรในรุ่นที่ 1 มีผู้เข้ารับการอบรมและผ่านการประเมินตามเกณฑ์ของหลักสูตรทั้งสิ้น จำนวน 34 คน

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการด้านการเกษตรในยุคดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัด

    รหัสโครงการ FN66/0086

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด