แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี


“ Logistics Management ”



หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร. กานดา บุญโสธรสถิตย์

ชื่อโครงการ Logistics Management

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0106 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"Logistics Management จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
Logistics Management



บทคัดย่อ

โครงการ " Logistics Management " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0106 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2022 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000,000.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
  2. ออกแบบหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ
  3. ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1
  4. จัดทำแผนงานของหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 และ 2
  5. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 1
  6. ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 2
  7. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1

วันที่ 1 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1) ศึกษาดูงานของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 2) ระดมสมองร่วมกับสถาประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* *ผู้บริหารของบริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ลักษณะทางธุรกิจของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 2) นโยบายการพัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* 3) คุณลักษณะปัจจุบันของบุคลากรในภาพรวมของสถานประกอบการใน 3 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

 

97 0

2. จัดทำแผนงานของหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 และ 2

วันที่ 1 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

1) กำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 2) ออกแบบโครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 3) จัดตารางการเรียนรู้ของหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง , บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) โจทย์จริงของสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 2) โครงสร้างและรายละเอียดหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* 3) ตารางการเรียนรู้ของหลักสูตรสำหรับสถานประกอบการใน 5 หน่วยงานหลัก* *บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง , บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

250 0

3. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 1

วันที่ 1 สิงหาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

1) การจัดการเรียนการสอนในภาคทฤษฎี 96 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านกรณีศึกษา (Case study-based Learning) ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ การบรรยาย (Lecture) การอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การอภิปราย (Discussion) และการให้คำแนะนำ (Coach) สำหรับ 3 หน่วยงานหลัก* 2) การจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ 240 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านการทำโครงงาน (Project-based learning) โดยมีผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นความสนใจที่เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียน มาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ด้วยโมเดลจักรยานแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ การกำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการ (Define) การวางแผน (Plan) สำหรับการดำเนินโครงงาน (Do) และสิ้นสุดโครงงานด้วยการถอดบทเรียน (Review) ร่วมกับการประเมินพัฒนาการของผู้เรียนผ่านการนำเสนอโครงการ (Presentation) สำหรับ 3 หน่วยงานหลัก* 3) การทบทวนภายหลังการดำเนินการ (After Action Review: AAR) มุ่งเน้นการสนับสนุนกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้ซ้ำๆ สู่การพัฒนาตนเองตลอดเวลา ด้วยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่แท้จริงกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง การค้นหาสาเหตุของผลลัพธ์เหล่านั้น การระบุหนทางแห่งการยั่งยืนและการพัฒนาสู่ความสำเร็จ และการวางแผนสำหรับสมรรถนะแห่งอนาคตด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกบนกรอบของคำถาม
*บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น, บจก.โกลบเทค, บริษัทในเครือของรวมถาวรขนส่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ระดับองค์ความรู้ด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 2) ระดับทักษะด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 3) มูลค่าผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงาน 163,486,000 บาทต่อปี (บริษัทในเครือพรีไซซ คอร์ปอเรชั่น), 162,096,000 บาทต่อปี (บจก.โกลบเทค), 163,966,000 บาทต่อปี (บริษัทในเครือรวมถาวรขนส่ง)

 

97 0

4. ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 2

วันที่ 1 มกราคม 2022

กิจกรรมที่ทำ

1) ศึกษาดูงานของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 2) ระดมสมองร่วมกับสถาประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* *บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ลักษณะทางธุรกิจของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 2) นโยบายการพัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* 3) คุณลักษณะปัจจุบันของบุคลากรในภาพรวมของสถานประกอบการใน 2 หน่วยงานหลัก* *บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

 

153 0

5. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 2

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2022

กิจกรรมที่ทำ

1) การจัดการเรียนการสอนในภาคทฤษฎี 104 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านกรณีศึกษา (Case study-based Learning) ซึ่งประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ การบรรยาย (Lecture) การอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) การอภิปราย (Discussion) และการให้คำแนะนำ (Coach) สำหรับ 2 หน่วยงานหลัก* 2) การจัดการเรียนการสอนในภาคปฏิบัติ 280 ชั่วโมง มุ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ณ สถานประกอบการ ผ่านการทำโครงงาน (Project-based learning) โดยมีผู้สอนเป็นผู้กระตุ้นความสนใจที่เกิดขึ้นจากตัวผู้เรียน มาใช้ในการทำกิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ด้วยโมเดลจักรยานแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ การกำหนดโจทย์จริงของสถานประกอบการ (Define) การวางแผน (Plan) สำหรับการดำเนินโครงงาน (Do) และสิ้นสุดโครงงานด้วยการถอดบทเรียน (Review) ร่วมกับการประเมินพัฒนาการของผู้เรียนผ่านการนำเสนอโครงการ (Presentation) สำหรับ 2 หน่วยงานหลัก* 3) การทบทวนภายหลังการดำเนินการ (After Action Review: AAR) มุ่งเน้นการสนับสนุนกลุ่มให้เกิดการเรียนรู้ซ้ำๆ สู่การพัฒนาตนเองตลอดเวลา ด้วยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่แท้จริงกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง การค้นหาสาเหตุของผลลัพธ์เหล่านั้น การระบุหนทางแห่งการยั่งยืนและการพัฒนาสู่ความสำเร็จ และการวางแผนสำหรับสมรรถนะแห่งอนาคตด้วยการประยุกต์ใช้ข้อมูลเชิงลึกบนกรอบของคำถาม 4) การจัดทำวิดิโอประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์
*บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น, มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ระดับองค์ความรู้ด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 2) ระดับทักษะด้าน Logistics Management ที่สูงขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ 3) มูลค่าผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากการทำโครงงาน 404,300,000 บาทต่อปี (บจก.นิว เวฟ ออโตเมชั่น), 9,617,844.518 บาทต่อปี (มูลนิธิโครงการหลวงและพันธมิตร) 4) สถานประกอบการอื่นๆ ให้ความสำคัญกับการ up-skill และ/หรือ re-skill บุคลากร และทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเพื่อส่งเสริมและสนับสุนนการพัฒนาบุคลากรร่วมกับ มจธ. มากขึ้น

 

153 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ (2) ออกแบบหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ (3) ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 (4) จัดทำแผนงานของหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1 และ 2 (5) จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 1 (6) ศึกษาดูงานและระดมสมองร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 2 (7) จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


Logistics Management จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0106

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผศ.ดร. กานดา บุญโสธรสถิตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด