แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
Hard Skills | 6 ก.พ. 2567 |
|
|
|
|
|
|
Coaching and Mentoring | 6 ก.พ. 2567 |
|
|
|
|
|
|
ประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและพิธีมอบประกาศนียบัตร | 6 ก.พ. 2567 |
|
|
|
|
|
|
Instructional Designer Skills | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
1) สำรวจความคิดเห็น ปัญหา และสภาพการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลที่ต้องการได้เรียนรู้จากหลักสูตร
2) สำรวจความรู้และความเข้าใจของครูเกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนยุคดิจิทัลโดยใช้ Mentimeter ในประเด็นดังนี้
• เทรนด์การเรียนรู้ใหม่ของคนยุคดิจิทัลเป็นอย่างไร
• การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลควรเป็นอย่างไร
• แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง
3) จัดการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนและสื่อในยุคดิจิทัลให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านประสบการณ์ ในประเด็นดังนี้
• สมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้มีอะไรบ้าง
• บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
• เนื้อหาการเรียนรู้ที่น่าสนใจในยุคดิจิทัล
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
4) ปฏิบัติการวิเคราะห์สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความจำเป็น การวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนการสอน และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
5) ปฏิบัติการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาที่ตนเองรับผิดชอบสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรและรายวิชา เพื่อการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม และกระบวนการสื่อสาร |
|
ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ทำให้สามารออกแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอนได้อย่างเป็นระบบ ตลอดจนออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ โดยการวิเคราะห์สารสนเทศและกิจกรรมการเรียนการสอนในการสร้างเนื้อหา (content) ของผู้เรียนที่เข้าร่วมมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายที่จะเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ โดยผู้เรียนมีสมรรถนะการวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ดังนี้ |
|
Creation Skill | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
หลักสูตร ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา และคณะทำงาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น การดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์เป็นการดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ได้รับทุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการ Upskill ทักษะครู ให้มีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล
โดยผลการดำเนินงานกิจกรรมในครั้งนี้ มีครูเข้าร่วมหลักสูตรจำนวน 42 คน มีผู้ผ่านเกณฑ์ในระดับ“ดีมาก”จำนวน 22 คน ผ่านเกณฑ์ในระดับ “ดี” จำนวน 14 คน และไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 6 คน โดยมีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายสถาบันการศึกษาและหลากหลายสังกัด
คณะทำงานขอขอบคุณวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับสมรรถนะดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนให้เกิดขึ้นได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ขอบคุณคณาจารย์และบุคคลที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นที่สนับสนุนการดำเนินงาน ขอบคุณแหล่งทุนสนับสนุนที่เป็นกลไกการขับเคลื่อนหลักให้เกิดกิจกรรมนี้ อย่างไรก็ตามทีมคณะทำงานได้มีแผนการดำเนินงานติดตามลงพื้นที่สำรวจภายหลังที่โครงการได้สิ้นสุดลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงและขยายผลแก่กลุ่มครูในเครือข่ายเพื่อการพัฒนาครู และผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
คณะทำงาน
กุมภาพันธ์ 2567 สารบัญ
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป จ
สารบัญตาราง ช
1 รายละเอียดหลักสูตร 1
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย 1
1.2 ชื่อหลักสูตร 1
1.3 รุ่น 1
1.4 กลุ่มอุตสาหกรรม 1
1.5 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.2 อาจารย์ผู้สอน 1
1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ 2
1.7 การวิเคราะห์ SKILL MAPPING ของหลักสูตร 2
1.8 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่คาดหวัง 8
2 การจัดการเรียนการสอน 9
2.1 ผลการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 9
2.1.1 PLO1 ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 11
2.1.2 PLO2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล 20
2.2 วิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน 30
2.3 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36 สารบัญรูป รูป 1 ผัง Skill Mapping ของหลักสูตร 4 รูป 2 การสร้างการรับรู้ผลลัพธ์การเรียนรู้ 10 รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน 13 รูป 4 Creation Skill การวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 15 รูป 5 SEO Skill สามารถเลือกใช้ Keyword เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล 16 รูป 6 Tech & Tool Skill การประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 18 รูป 7 Marketer Skill การสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์เพื่อการประกอบการ 19 รูป 8 Adaptability Skill การสังเคราะห์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับบริบทของเหตุการณ์ 21 รูป 9 Collaboration Skill การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานร่วมกัน 23 รูป 10 Creativity Skill การสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 25 รูป 11 Inspiration การสร้างแรงบัลดาลผ่านการนำเสนอผลงาน 27 รูป 12 Emotional Intelligence การรับมือสภาวะความกดดัน การสร้างพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 29 รูป 13 การสร้างผัง Mindmap การออกแบบการสร้างสื่อการสอนแบบดิจิทัลคอนเทนต์ 39 รูป 14 การออกแบบ Story Board 40 รูป 15 การออกแบบผลงานผ่าน Google Site 41 รูป 16 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการออกแบบคอนเทนต์ 42 รูป 17 การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 42 รูป 18 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการเตรียมและสร้างวัตถุดิบ (หลังเรียน) 43 รูป 19 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการตัดต่อคลิปวิดีโอ (หลังเรียน) 43 รูป 20 ตระหนักต่อการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ในสังคมหรือสถานการณ์ในปัจจุบัน 44 รูป 21 "เจตคติ" ที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และมี "ทักษะ" การทำงานเป็นทีม 45 รูป 22 "เจตคติ"ที่ดีต่อมุมมองของการสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนที่สร้างสรรค์ โดยมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 46 รูป 23"เจตคติ" ที่ดีในสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อสร้างแรงบันดาล 47 รูป 24 “เจตคติ" ที่ดีในการรับมือสภาวะความกดดัน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และการวิพากษ์วิจารณ์ผลงานอย่างสร้างสรรค์ 48 รูป 25 ระดับความรู้ ความเข้าใจและทักษะการสื่อสาร การทำงานร่วมกับผู้อื่น การนำเสนอและเผยแพร่อย่างมีจรรยาบรรณ (หลังเรียน) 49 รูป 26 Google Form เพื่อการมีส่วนร่วมกันในการออกแบบหลักสูตร 52 รูป 27 บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ณ โรงเรียนเครือข่าย 53 รูป 28 การติดตามผู้เรียนการแก้ไขปัญหา 54 รูป 29 การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ 55 รูป 30 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม 56 รูป 31 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม (ต่อ) 57 รูป 32 ผู้เรียนในหลักสูตร 60 รูป 33 กลไกการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาในระยะยาวเพื่อให้เกิดความยั่งยืน 69 รูป 34 การดำเนินงานของกลไก 70 รูป 35 แนวทางการขยายผล / แนวคิดโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ 71 รูป 36 แนวทางการขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนพุทธิโศภน 71 รูป 37 การขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนบ้านออนกลางไปยัง โรงเรียนเครือข่ายในพื้นที่อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 72 รูป 38 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานและหลักสูตร 75 สารบัญตาราง ตาราง 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร 5
ตาราง 2 ภาพรวมทักษะและสมรรถนะที่ได้ของผู้เรียน 36
ตาราง 3 ประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36
ตาราง 4 ผู้เรียนจำแนกตามสถานที่ 58
ตาราง 5 รายละเอียดผู้เรียน 61
1 รายละเอียดหลักสูตร
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
1.2 ชื่อหลักสูตร 1.5.2 อาจารย์ผู้สอน ชื่ออาจารย์/ผู้รับผิดชอบ ความเชี่ยวชาญ อีเมล ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา การออกแบบการเรียนการสอน วิชาชีพครู นวัตกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการ ชุมชนวิชาชีพแห่งการเรียนรู้ thitima@feu.edu ผศ.ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ เทคโนโลยีดิจิทัล และการสร้างสรรค์ sarawut@feu.edu อ.อังษณีภรณ์ ศรีคำสุข วิชาชีพครู aungsaneepon@feu.edu อ.พิชัย เหลี่ยวเรืองรัตน์ วิศวกรรม pichai@feu.edu ผศ.จันทร์จิตร เธียรสิริ การตลาดดิจิทัล junjit@feu.edu อ.เจนจิรา ถาปินตา บัญชี การประสานงาน และการทำงานร่วมกับผู้อื่น janejira@feu.edu 1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ
⬜ Re-skill Up-skill ⬜ New Skill ⬜ อื่นๆ
รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน
sPLO วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนรู้
Creation Skill
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
2. ผู้เรียนสามารประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลขั้นพื้นฐานที่เป็นฐานความรู้ในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ • Active Learning |
|
ผู้เรียนสามารถพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนที่มีการออกแบบอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ในระดับภาพรวมกึ่งรายละเอียดได้ดี และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยมีการพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ผ่านแนวคิดการเล่าเรื่อง (Storytelling) และหลักการของ Story Board |
|
SEO Skill | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
1) การศึกษาเทคนิคการใช้ Hashtag บน Social Media ช่องทางต่าง ๆ |
|
ผู้เรียนสร้าง Keyword ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการสอนหรือสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อให้เข้าถึงการสืบค้นที่รวดเร็ว และมีการนำเสนอที่สะท้อนถึงการมีลำดับขั้นตอนในการได้มาซึ่ง Keyword ที่คาดว่าจะตรงกับความต้องการสืบค้นของกลุ่มผู้เรียน |
|
Marketer Skill | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
1) วิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ 2) ศึกษาและเรียนรู้การตลาดดิจิทัลพื้นฐานเพื่อสร้างรายได้และอาชีพแก่ตนเอง สถานศึกษา ผู้เรียน และชุมชน 3) สืบค้น และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้ 4) ปฏิบัติการสร้างเพจ บน Facebook และการสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube 5) คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ (Google Meet) |
|
ผู้เรียนวิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้ และสามารถสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube และ google site โดยประยุกต์ใช้สื่อการเรียนการสอนการที่ออกแบบและพัฒนาด้วยตนเอง เชื่อมโยงและเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มทางการศึกษาได้ |
|
Tech & Tool Skill | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
1) สำรวจความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งาน เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันเพื่อสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 2) แนะนำเครื่องมือดิจิทัล โดยการแสดงตัวอย่างและสาธิตการใช้เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 3) ปฏิบัติการติดตั้งแอปพลิเคชันตัดต่อวิดีโอลงบนคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน 4) ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง 5) ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ - รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอ 6) ปฏิบัติการแปลงไฟล์วิดีโอ ส่งออกไฟล์ และการเผยแพร่ไฟล์วิดีโอบน Social Media ช่องทางต่าง ๆ 7) ปฏิบัติการพัฒนาสื่อการสอนสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่ได้ออกแบบไว้ คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม และรายบุคคลในสถานศึกษาและผ่านช่องทางออนไลน์ |
|
ผู้เรียนสามารถเลือกและประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานข องเครื่องมือพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอเพื่อสร้างวัตถุดิบและพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ |
|
Coaching and Mentoring | 6 ก.พ. 2567 | 6 ก.พ. 2567 |
|
ทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา |
|
หลักสูตรได้มีการดำเนินงานร่วมกับสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านออนกลาง โรงเรียนพุทธิโศภน อำเภอเมืองเชียงใหม่ โรงเรียนวัดศรีบุญเรือง สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่อาย และสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ความร่วมมือทำให้เกิดการขยายผลการจัดกิจกรรมไปยังเครือข่ายสถานศึกษาส่งผลให้เกิดจำนวนการ Upskill ของครูที่มากขึ้น กระบวนการติดตามและการประเมินผลร่วมกัน โดยใช้กระบวนการ Coaching เป็นเครื่องมือ โดยจะมีการติดตามในชั้นเรียนและลงสำรวจพื้นที่รายโรงเรียนเป้าหมาย 2 รูปแบบได้แก่ ติดตามด้วยระบบออนไลน์ผ่าน Google Meet และติดตามในพื้นที่ของโรงเรียน การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ Google Meet การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา ได้แก่ |
|
ประชุมวิชาการ | 6 ก.พ. 2567 |
|
|
|
|
|