โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark (หลักสูตร Non-Degree)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
หลักสูตร Non-Degree
ชื่อโครงการ โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0016 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service
Design) (PLO1) จะเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนา Professional Skills เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
2. Integrative Community-based collaboration(PLO2) การเรียนรู้ที่จะบูรณาการ เชื่อมโยงภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้าน Soft Skills
3. การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (PLO3) สามารถสื่อและวางแผนการประชาสัมพันธ์
และการขายผ่านช่องทาง Social Media เพื่อต่อยอดธุรกิจขนาดย่อยของตนเอง รวมถึงสามารถเรียบเรียง
ที่มาที่ไปของการใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการออกมาเป็นเรื่องเล่า
(Story) ได้อย่างน่าสนใจ เป็นอีกบทเรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ Soft Skills
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ผู้เรียน เข้าใจหลักการ Design thinking นำไปใช้งานได้
ผู้เรียน ทำต้นแบบโดยใช้หลักการ Product and service design และ Intrgrative Community-based collaboration
ผู้เรียนพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ จากการใช้ application อย่างง่ายในการ ทำสื่อประชาสัมพันธ์
ผู้เรียนทดลองสร้าง content จากการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ระดับ Professional
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
ปรับตารางเรียนให้ยืดหยุ่นโดยจัดทำตารางเรียนในรูปแบบยืดหยุ่น เช่น การแบ่งกลุ่มย่อยตามความสะดวกของผู้เรียน หรือจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ควบคู่กับออนไซต์
• เพิ่มระยะเวลาและความลึกของหลักสูตรโดยการขยายเวลาเรียนในแต่ละหลักสูตร และเพิ่มความครอบคลุมของเนื้อหาให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการ
• พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ On-Demand ด้วยการจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา เพื่อลดข้อจำกัดด้านเวลา
• สร้างกลไกการติดตามผลเพื่อติดตามผลการเรียนรู้และการนำความรู้ไปปรับใช้ในธุรกิจของผู้ประกอบการ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร
• ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้เรียนที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และต่อยอดธุรกิจร่วมกัน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากวัตถุประสงค์ของหลักสูตร สรุปการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
PLO1 เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการชุมชนใหม่ (Product and Service Design)
PLO 1a เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)ในขณะที่เรียนนั้นมีทั้งในส่วนของการให้ความรู้แล้วในส่วนของการถามตอบ และช่วยแสดงความคิดเห็น แชร์ความรู้
ซึ่งกันและกัน เพื่อให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นถึงหลักการที่ได้เรียนรู้ในครั้งนี
PLO 1b เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service Design)ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และเครื่องมือ ที่ตนเองต้องใช้ หรือควรจะใช้สำหรับนำไปต่อยอด
เพื่อโปรโมทและเพิ่มยอดขายของผลิตภัณฑ์ของยี่ห้อตัวเองโดยมีการทดลอง และลงมือทำหลังจากได้รับความรู้ทางทฤษฎีเรียบร้อยแล้ว
PLO2 Integrative Community-based collaboration
PLO 2a สามารถบูรณาการความร่วมมือในชุมชนเนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการนั้นมาจากการทำธุรกิจที่มีความหลากหลายทั้งในด้านผลิตภัณฑ์ บริการและพื้นที่ ดังนั้นจึงเกิดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทำความรู้จักกัน และเกิดการตกลงทั้งซื้อขายผลิตภัณฑ์ซึ่งกันและกัน เช่นมีการตกลงฝากขายของในร้านค้าที่ต่างพื้นที่กัน และยังมีการสั่งวุตถุดิบเพิ่มเติมจากต่างพื้นที่อีกด้วย นอกจากนั้นยังมีการวางแผนช่วยกันในการคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่อยากทำร่วมกันในอนาคตด้วย
PLO 2b สามารถเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการได้ทั้งนี้มีการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เป็นอัตลักษณ์ในพื้นที่เพื่อออกแบบทั้งตัวผลิตภัณฑ์ที่มีขายอยู่แล้วและตัว Branding ที่หลายๆ ผู้ประกอบการต้องการปรับปรุงให้ดีขึ้น
PLO3 การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
PLO 3a สามารถออกแบบแนวคิดผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรม หรือ GEO Culture มีการนำเอาความร็ไปปรับใช้ทั้งในการออกแบบ Logo ใหม่และ ยังมีการประยุกต์ใช้เทคนิคเช่นการถ่าย clip ที่เรียน
จากชั้ยเรียน ซึ่งช่วยให้มีการสื่อสารว่ามีของดีของผลิตภัณฑ์ตนเองซึ่งปลูกอยู่ในท้องถิ่นนี่เท่านั้น เพื่อให้มีความน่าสนใจมากขึ้นด้วย
PLO 3b สามารถต่อยอดธุรกิจจากงานออกแบบและสื่อสารทางการตลาดโดยการสร้าง Content และเครื่องการสื่อสารผ่านช่องทาง Social Mediaมีการสร้าง Content ที่น่าสนใจมากขึ้น รวมทั้งยังใช้เทคนิคทั้งการถ่ายรูปภาพนิ่งและการลง clip ควบคู่กันไปเพื่อทำให้ผู้ชมหรือลูกค้ามีความสนใจใน Brand และผลิตภัณฑ์มากขึ้นด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service
Design) (PLO1) จะเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนา Professional Skills เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
2. Integrative Community-based collaboration(PLO2) การเรียนรู้ที่จะบูรณาการ เชื่อมโยงภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้าน Soft Skills
3. การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (PLO3) สามารถสื่อและวางแผนการประชาสัมพันธ์
และการขายผ่านช่องทาง Social Media เพื่อต่อยอดธุรกิจขนาดย่อยของตนเอง รวมถึงสามารถเรียบเรียง
ที่มาที่ไปของการใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการออกมาเป็นเรื่องเล่า
(Story) ได้อย่างน่าสนใจ เป็นอีกบทเรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ Soft Skills
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ผู้เรียน เข้าใจหลักการ Design thinking นำไปใช้งานได้
ผู้เรียน ทำต้นแบบโดยใช้หลักการ Product and service design และ Intrgrative Community-based collaboration
ผู้เรียนพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ จากการใช้ application อย่างง่ายในการ ทำสื่อประชาสัมพันธ์
ผู้เรียนทดลองสร้าง content จากการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ระดับ Professional
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
ปรับตารางเรียนให้ยืดหยุ่นโดยจัดทำตารางเรียนในรูปแบบยืดหยุ่น เช่น การแบ่งกลุ่มย่อยตามความสะดวกของผู้เรียน หรือจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ควบคู่กับออนไซต์
• เพิ่มระยะเวลาและความลึกของหลักสูตรโดยการขยายเวลาเรียนในแต่ละหลักสูตร และเพิ่มความครอบคลุมของเนื้อหาให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการ
• พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ On-Demand ด้วยการจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา เพื่อลดข้อจำกัดด้านเวลา
• สร้างกลไกการติดตามผลเพื่อติดตามผลการเรียนรู้และการนำความรู้ไปปรับใช้ในธุรกิจของผู้ประกอบการ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร
• ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้เรียนที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และต่อยอดธุรกิจร่วมกัน
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark ”
หัวหน้าโครงการ
หลักสูตร Non-Degree
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0016 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service
Design) (PLO1) จะเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนา Professional Skills เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
2. Integrative Community-based collaboration(PLO2) การเรียนรู้ที่จะบูรณาการ เชื่อมโยงภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้าน Soft Skills
3. การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (PLO3) สามารถสื่อและวางแผนการประชาสัมพันธ์
และการขายผ่านช่องทาง Social Media เพื่อต่อยอดธุรกิจขนาดย่อยของตนเอง รวมถึงสามารถเรียบเรียง
ที่มาที่ไปของการใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการออกมาเป็นเรื่องเล่า
(Story) ได้อย่างน่าสนใจ เป็นอีกบทเรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ Soft Skills
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผู้เรียน เข้าใจหลักการ Design thinking นำไปใช้งานได้ ผู้เรียน ทำต้นแบบโดยใช้หลักการ Product and service design และ Intrgrative Community-based collaboration ผู้เรียนพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ จากการใช้ application อย่างง่ายในการ ทำสื่อประชาสัมพันธ์ ผู้เรียนทดลองสร้าง content จากการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ระดับ Professional
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ... ปรับตารางเรียนให้ยืดหยุ่นโดยจัดทำตารางเรียนในรูปแบบยืดหยุ่น เช่น การแบ่งกลุ่มย่อยตามความสะดวกของผู้เรียน หรือจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ควบคู่กับออนไซต์ • เพิ่มระยะเวลาและความลึกของหลักสูตรโดยการขยายเวลาเรียนในแต่ละหลักสูตร และเพิ่มความครอบคลุมของเนื้อหาให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการ • พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ On-Demand ด้วยการจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา เพื่อลดข้อจำกัดด้านเวลา • สร้างกลไกการติดตามผลเพื่อติดตามผลการเรียนรู้และการนำความรู้ไปปรับใช้ในธุรกิจของผู้ประกอบการ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร • ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้เรียนที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และต่อยอดธุรกิจร่วมกัน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากวัตถุประสงค์ของหลักสูตร สรุปการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ได้ดังนี้
PLO1 เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการชุมชนใหม่ (Product and Service Design)
PLO 1a เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)ในขณะที่เรียนนั้นมีทั้งในส่วนของการให้ความรู้แล้วในส่วนของการถามตอบ และช่วยแสดงความคิดเห็น แชร์ความรู้
ซึ่งกันและกัน เพื่อให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นถึงหลักการที่ได้เรียนรู้ในครั้งนี
PLO 1b เข้าใจหลักการ วิธีการ เครื่องมือการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service Design)ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในหลักการ วิธีการ และเครื่องมือ ที่ตนเองต้องใช้ หรือควรจะใช้สำหรับนำไปต่อยอด
เพื่อโปรโมทและเพิ่มยอดขายของผลิตภัณฑ์ของยี่ห้อตัวเองโดยมีการทดลอง และลงมือทำหลังจากได้รับความรู้ทางทฤษฎีเรียบร้อยแล้ว
PLO2 Integrative Community-based collaboration
PLO 2a สามารถบูรณาการความร่วมมือในชุมชนเนื่องจากผู้เข้าร่วมโครงการนั้นมาจากการทำธุรกิจที่มีความหลากหลายทั้งในด้านผลิตภัณฑ์ บริการและพื้นที่ ดังนั้นจึงเกิดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทำความรู้จักกัน และเกิดการตกลงทั้งซื้อขายผลิตภัณฑ์ซึ่งกันและกัน เช่นมีการตกลงฝากขายของในร้านค้าที่ต่างพื้นที่กัน และยังมีการสั่งวุตถุดิบเพิ่มเติมจากต่างพื้นที่อีกด้วย นอกจากนั้นยังมีการวางแผนช่วยกันในการคิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่อยากทำร่วมกันในอนาคตด้วย
PLO 2b สามารถเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการได้ทั้งนี้มีการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เป็นอัตลักษณ์ในพื้นที่เพื่อออกแบบทั้งตัวผลิตภัณฑ์ที่มีขายอยู่แล้วและตัว Branding ที่หลายๆ ผู้ประกอบการต้องการปรับปรุงให้ดีขึ้น
PLO3 การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
PLO 3a สามารถออกแบบแนวคิดผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรม หรือ GEO Culture มีการนำเอาความร็ไปปรับใช้ทั้งในการออกแบบ Logo ใหม่และ ยังมีการประยุกต์ใช้เทคนิคเช่นการถ่าย clip ที่เรียน
จากชั้ยเรียน ซึ่งช่วยให้มีการสื่อสารว่ามีของดีของผลิตภัณฑ์ตนเองซึ่งปลูกอยู่ในท้องถิ่นนี่เท่านั้น เพื่อให้มีความน่าสนใจมากขึ้นด้วย
PLO 3b สามารถต่อยอดธุรกิจจากงานออกแบบและสื่อสารทางการตลาดโดยการสร้าง Content และเครื่องการสื่อสารผ่านช่องทาง Social Mediaมีการสร้าง Content ที่น่าสนใจมากขึ้น รวมทั้งยังใช้เทคนิคทั้งการถ่ายรูปภาพนิ่งและการลง clip ควบคู่กันไปเพื่อทำให้ผู้ชมหรือลูกค้ามีความสนใจใน Brand และผลิตภัณฑ์มากขึ้นด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service
Design) (PLO1) จะเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนา Professional Skills เพื่อยกระดับสินค้าและบริการให้
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
2. Integrative Community-based collaboration(PLO2) การเรียนรู้ที่จะบูรณาการ เชื่อมโยงภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสินค้าและบริการเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้าน Soft Skills
3. การสร้างมูลค่าเพิ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (PLO3) สามารถสื่อและวางแผนการประชาสัมพันธ์
และการขายผ่านช่องทาง Social Media เพื่อต่อยอดธุรกิจขนาดย่อยของตนเอง รวมถึงสามารถเรียบเรียง
ที่มาที่ไปของการใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการออกมาเป็นเรื่องเล่า
(Story) ได้อย่างน่าสนใจ เป็นอีกบทเรียนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ Soft Skills
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผู้เรียน เข้าใจหลักการ Design thinking นำไปใช้งานได้ ผู้เรียน ทำต้นแบบโดยใช้หลักการ Product and service design และ Intrgrative Community-based collaboration ผู้เรียนพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์ จากการใช้ application อย่างง่ายในการ ทำสื่อประชาสัมพันธ์ ผู้เรียนทดลองสร้าง content จากการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ระดับ Professional
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ... ปรับตารางเรียนให้ยืดหยุ่นโดยจัดทำตารางเรียนในรูปแบบยืดหยุ่น เช่น การแบ่งกลุ่มย่อยตามความสะดวกของผู้เรียน หรือจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ควบคู่กับออนไซต์ • เพิ่มระยะเวลาและความลึกของหลักสูตรโดยการขยายเวลาเรียนในแต่ละหลักสูตร และเพิ่มความครอบคลุมของเนื้อหาให้เหมาะสมกับความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการ • พัฒนาระบบการเรียนรู้แบบ On-Demand ด้วยการจัดทำสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา เพื่อลดข้อจำกัดด้านเวลา • สร้างกลไกการติดตามผลเพื่อติดตามผลการเรียนรู้และการนำความรู้ไปปรับใช้ในธุรกิจของผู้ประกอบการ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร • ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้เรียนที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และต่อยอดธุรกิจร่วมกัน
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการต่อยอดศักยภาพพื้นที่เศรษฐกิจ Satun Unesco Global Geopark ด้วยแนวคิดนวัตกรรมการออกแบบเพื่อวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยในพื้นที่ Satun Unesco Global Geopark จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......