แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“ วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0028 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1 ด้านความรู้
1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม
4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้
2 ด้านปัญญา
1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้
2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6
รายชื่อสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมงานหล่อ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่เข้าร่วมโครงการ ดังนี้
1) บริษัทบรรจงอินดัสเตรียล จำกัด
2) บริษัทสมพงษ์ และ โคชิน (ไทยแลนด์) จำกัด
3) บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จำกัด
4) บริษัทพรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
5) บริษัทโชคชยั ออลเมทอลเซอร์วสิ จำกัด
6) บริษัทบรรจงอินดัส เตรียล จำกัด
7) บริษัททรัพย์เจริญรุ่งเรืองสตีลจำกัด
8) สมาคมอุตสาหกรรมหล่อโลหะไทย
- ระยะเวลาในการศึกษาในสถานประกอบการการดำเนินการ
ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2565 ถึงวันที่ 18 กันยายน 2565
โดยเนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย 6 โมดูล จำนวนชั่วโมงการเรียนทั้งหมด 300 ชั่วโมง (60 ชั่วโมงทฤษฎี : 240 ชั่วโมงปฏิบัติ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ มาจากแบบสำรวจความพึ่งพอใจของผู้เข้าอบรบโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) หลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ที่มาจากแต่ละสถานประกอบการ สามารถรวบรวมข้อเสนอแนะได้ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1) ด้านการอบรม
พบว่าเนื้อหาในการฝึกอบรมตรงกับวัตถุประสงค์ในระดับดีมาก ระยะเวลาในการฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี หลักสูตรเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของผู้เข้าอบรมอยู่ในระดับดี และสามารถนาสิ่งที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก จึงกล่าวได้ว่าด้านการจัดอบรมได้รับความพึ่งพอใจในระดับที่ดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือเป็นหลักสูตรที่มีการสอนและประยุกต์หลายรายวิชา ทั้งในภาคทฤษฎีและปฎิบัติ จึงเหมาะสมสำหรับผู้เข้าอบรมครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง
2) ด้านวิทยากร
พบว่าความสามารถในการถ่ายทอด/สื่อสาร/ความเข้าใจของวิทยากร การเรียงลำดับบรรยายเนื้อหาได้ครบถ้วน การเปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น การตอบคำถามได้ตรงประเด็นและชัดเจนทั้งหมดอยู่ในระดับดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือวิทยากรได้ถ่ายทอดความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงตามการปฏิบัติงานของสถานประกอบการ
3) ด้านสถานที่และการบริการ
พบว่าสถานที่จัดอบรมเหมาะสม เจ้าหน้าที่ดูแลอำนวยความสะดวกได้ตามความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับสถานที่และการบริการเป็นที่พึ่งพอใจและประทับใจ
4) ข้อเสนอแนะอื่นๆ ส่วนมากต้องการให้ทำการจัดหลักสูตรอบรมในลักษณะที่ได้ลงมือปฎิบัติงานจริงที่เหมาะกับการทำงานในภาคอุตสาหกรรมแบบโครงการนี้อีก
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 1
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 1
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดประกอบหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
โครงการบัณฑิตพันธ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบัตร (Nondegree)
ระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน 2565 - 18 กันยายน 2565
ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยมหิดล,
บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด, บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด,
บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด และออนไลน์
วัน เวลา หัวข้อ รายละเอียด
โมดูล 1 พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
11 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
- การตัดและขึ้นรูปทำตัวเรือน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
- การขัดชิ้นงานเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาค
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
12 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
- การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของโลหะ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; พื้นฐานการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
- การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคของโลหะ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
15 มิถุนายน 2565
18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง
16 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคในการวิเคราะห์ทางวัสดุ/โลหะวิทยาสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง
17 มิถุนายน 2565
18.00 – 20.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
โครงสร้างโลหะแบบต่างๆ ความแข็งแรง
18 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ
- การประเมินปริมาณคาร์บอนในเหล็กกล้า
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะและวัสดุ
- การประเมินปริมาณคาร์บอนในเหล็กกล้า และสารอื่น
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
โมดูล 2 สมบัติทางกลของโลหะและการทดสอบ
19 มิถุนายน 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
- การทดสอบแรงดึง
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
- การทดสอบความแข็ง
25 มิถุนายน 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
- การเตรียมชิ้นงานทดสอบการรับแรงกระแทก
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของการทดสอบทางกลของชิ้นงานหล่อ
- การทดสอบการรับแรงกระแทก
26 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง
- การอ่านค่าจากเครื่องมือวัด
- การตรวจสอบเครื่องมือ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การตรวจวัดชิ้นงานทดสอบแรงดึง และการทดสอบแรงดึง
- การแยกลักษณะของรอยแตก
- การจดบันทึกข้อมูล
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
30 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
2 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; Verification Rockwell Hardness Test
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
3 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
- การตรวจสอบเครื่องมือ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; การทดสอบความแข็งแบบ
Rockwell Hardness Test
- การอ่านค่าจากเครื่องทดสอบ
- การจดบันทึกข้อมูล
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
7 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; เทคนิคด้านการหล่อโลหะ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
9 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก
- JIS Z2202
- JIS Z2242
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การทดสอบแรงกระแทก
- การแยกลักษณะของรอยแตก
- การจดบันทึกข้อมูล
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
โมดูล 3 โลหะกลุ่มเหล็ก
10 กรกฎาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
- กระบวนการผลิตเหล็กหล่อ
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
- กระบวนการผลิตเหล็กหล่อ โครงสร้าง
16 กรกฎาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
- โลหะวิทยาและการผลิตเหล็กหล่อเทา
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายใน;
ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
- โลหะวิทยาและการผลิตเหล็กหล่อเหนียว
17 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการมาตรฐานการทดสอบทรายแบบ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการมาตรฐานการทดสอบทรายแบบ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการออกแบบแบบจำลอง
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการออกแบบแบบจำลอง
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
21 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
23 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการทำแบบหล่อด้วยทรายชื้น
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
24 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิตเหล็กหล่อเทา
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิตเหล็กหล่อเทา
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิต เหล็กหล่อเหนียว
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
4. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิต เหล็กหล่อเหนียว
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
27 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
30 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเทา สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเทา สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเหนียว สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณภาพเหล็กหล่อเหนียว สำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
โมดูล 4 การแปลงเฟสและกรรมวิธีทางความร้อนของเหล็กกล้า
31 กรกฎาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ
- กระบวนการอบชุบในเหล็กหล่อต่างๆ
- การผลิตเหล็กหล่ออบเหนียว
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ
วิทยากรภายใน;
อ.มารุต เขียวแก่ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; พื้นฐานของกระบวนการอบชุบในงานหล่อ
- กระบวนการอบชุบแม่พิมพ์
- กระบวนการทำผิวแข็งในงานแม่พิมพ์งานหล่อ
6 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ
2. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ
2. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบเหล็กแม่พิมพ์ H13
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
7 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การทดสอบสมบัติแม่พิมพ์หลังการอบชุบ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
11 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Annealing
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
14 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ศุภชัย นพพรสุวรรณ ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
18 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
20 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. ผศ.กังวาล นาคศุภรังษี ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
โมดูล 5 โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
21 สิงหาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
- การควบคุมคุณภาพทางโลหะวิทยาอะลูมิเนียมสำหรับงานหล่อ
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
การควบคุมคุณภาพทางโลหะวิทยาอะลูมิเนียมสำหรับงานหล่อ
27 สิงหาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
- กระบวนการหล่อไดคาสติ้ง
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
กระบวนการหล่อไดคาสติ้ง
28 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การตรวจสอบโครงสร้างโลหะวิทยา
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; การตรวจสอบโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการควบคุมการผลิตอะลูมิเนียมหล่อ
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการควบคุมการผลิตอะลูมิเนียมหล่อ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
1 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
สถานที่; บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมิเนียม จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านโครงสร้างโลหะวิทยาของชิ้นส่วนยานยนต์อะลูมิเนียม
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
โมดูล 6 ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ
3 กันยายน 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์
- ความเสียหายจากข้อบกพร่องในการผลิต
13.00 – 16.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์
วิทยากรภายนอก;
อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; ความเสียหายของโลหะแบบต่างๆ และการวิเคราะห์
- ความเสียหายจากข้อบกพร่องทางโลหะวิทยา
4 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อในเหล็กหล่อ
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
10 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.มารุต เขียวแก่
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.มารุต เขียวแก่
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 1
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
11 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
1. อ.ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์
2. อ.ดร.นพกร ภู่ระย้า ปฏิบัติ; ปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อด้วยซอฟต์แวร์จำลองการหล่อ 2
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
15 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
ศึกษาดูงาน
17 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
- ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี
นำเสนอ Project
18 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กรณีศึกษาก่อนและหลังการอบรม
13.00 – 17.00 น. การสอนออนไลน์
ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์ การสอนออนไลน์
ปฏิบัติ; นำเสนอ Project หลังการอบรม การให้ข้อเสนอแนะ
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กรณีศึกษาก่อนและหลังการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตารางแสดงขั้นตอนการประเมินผลหรือวิธีการวัด (Assessment) ความสามารถ และหรือ ผลการเรียนรู้ ในเชิงคุณภาพอย่างชัดเจน
ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด (Assessment)
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ การทดสอบก่อนและหลังการอบรม / การสอบวัดประเมินผล / การตอบคำถาม
2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน / การสังเกตุระหว่างปฏิบัติการ
3. สามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน
ด้านปัญญา
1. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ ใช้เทคนิคการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และการประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้
2. สามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน
- วิธีการวัดและประเมินผล
การจัดการเรียนการสอนโครงการสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) หลักสูตรวิศวกรรมสำหรับงานหล่อเพื่อยานยนต์ สามารถทำการวัดและประเมินผลได้ โดยแบ่งออกเป็นภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ<br />
1) ภาคทฤษฎี วัดผลจากการเข้าเรียน การสอบ-ถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การนำเสนอผลงาน หรือการทำแบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 40 จากคะแนนรวมทั้งหมด
2) ภาคปฏิบัติ วัดผลจากการปฎิบัติงานจริงตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย เกณฑ์การประเมินจะประเมินตั้งแต่ขณะทำกิจกรรมกลุ่มและลงมือปฏิบัติงานจริง ทำแบบฝึกหัดตามที่ได้รับมอบหมาย และโครงงานหรือกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติงานจริง เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 60 จากคะแนนรวมทั้งหมด
หากผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนเกินร้อยละ 50 จากคะแนนรวมทั้งภาคทฤษฏีและปฎิบัติถือว่าผ่านการอบรมครั้งนี้
- ทักษะและสมรรถนะที่ได้
จากการจัดการเรียนการสอนโครงการสร้างบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) หลักสูตรวิศวกรรมสำหรับงานหล่อเพื่อยานยนต์ โดยร่วมกันออกแบบให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมงานหล่อ สำหรับรองรับชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ เพื่อเสริมสร้างทักษะแก่ผู้เรียนให้มีความสามารถ ศักยภาพตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมได้ร่วมกับสถานประกอบในกลุ่มงานอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ ความสามารถ ความรู้สำหรับรองรับชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ สามารถจำแนกได้ดังนี้
1) งานแม่พิมพ์โลหะ ผู้เข้าอบรมในส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและออกแบบแม่พิมพ์ มีทักษะและสมรรถนะที่สามารถจัดทำโครงงานที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงแม่พิมพ์ ในด้านความแข็งของแม่พิมพ์ที่มีผลต่ออายุการใช้งานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของแม่พิมพ์ และอายุการใช้งานที่ยืดยาวและลดต้นทุนของสถานประกอบการได้จริง
2) งานหล่อโลหะ ผู้ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะในงานหล่อโลหะ สามารถวิเคราะห์และการควบคุมปริมาณน้ำดินเหนียว และขนาดของเม็ดทรายในงานหล่อโลหะที่ส่งผลต่อการสร้างแบบหล่อทรายในสถานประกอบการ เพื่อให้สามารถผลิตชิ้นงานออกมาตามความต้องการของลูกค้าได้
3) การตรวจสอบคุณภาพ ผู้ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะในการวิเคราะห์ปัญหา และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือตรวจสอบส่วนผสมทางเคมีโดยการศึกษาหลักการของเครื่องสเปกโตรมิเตอร์ เพื่อใช้เป็นข้อแนะนำแก่ทางโรงงานในการหาค่าส่วนผสมเคมีของอลูมิเนียมอินกอต เพื่อเป็นแนวทางในการลดปัญหาของเสียที่เกิดจากการใช้อลูมิเนียมอินกอตที่ไม่ได้มาตรฐาน นอกจากนั้นผู้ที่ผ่านการอบรมมีทักษะและสมรรถนะเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของอลูมิเนียมอินกอตตามมาตรฐาน JIS ADC-12 เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพของอลูมิเนียมอินกอตตามมาตรฐาน JIS ADC-12 และลดปัญหาของเสียที่เกิดจากการใช้อลูมิเนียมอินกอตที่ไม่ได้มาตรฐานได้ อย่างเหมาะสมกับสถานประกอบการ
2.6 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
1) การประเมินกลยุทธ์การสอน
พิจารณาจากผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อ โดยอาจประเมินจากแบบฝึกหัด การทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน การอภิปรายโต้ตอบ การตอบคำถามของผู้เรียนในชั้นเรียน การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน พบว่าผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ และยังสามารถได้รับความรู้พื้นฐานเพิ่มเติมในศาสตร์อื่นๆ
2) การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
ผู้เรียนต้องประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล และการใช้สื่อการสอน ซึ่งเป็นไปตามแผนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
3) การประเมินหลักสูตรในภาพรวม การประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยสำรวจจาก
- ผู้เรียน
- สถานประกอบการ
- ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
2.7 แสดงผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้ระบุไว้
ผลสัมฤทธิ์ที่ได้รับจากการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ สามารถแสดงได้ดังนี้
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
1 ด้านความรู้
1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม
4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้
2 ด้านปัญญา
1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้
2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้
40
0
2. การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
วันเวลาการจัดการเรียนการสอน
1) วันเสาร์ - วันอาทิตย์
2) เวลาภาคทฤษฎี คือ 9.00 น. – 16.00 น.
3) เวลาภาคปฏิบัติ คือ 8.00 น. – 17.00 น.
สถานที่ฝึกการจัดการเรียนการสอน
1) ภาคทฤษฎี ใช้การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
2) ภาคปฏิบัติการ ใช้อาคารเรียน 18/2 สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และสถานประกอบการสมาชิกของกลุ่มอุตสาหกรรมหล่อโลหะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เนื้อหาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน 40 วัน (300 ชม.)
1) ภาคทฤษฎี จัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 10 วัน
2) ภาคปฏิบัติการ สถานที่จัดการเรียนการสอนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และสถานประกอบการสมาชิกกลุ่มอุตสาหกรรมหล่อโลหะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จำนวน 29 วัน
3) การศึกษาดูงาน สถานประกอบการสมาชิกกลุ่มอุตสาหกรรมหล่อโลหะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจำนวน 1 วัน
โดยเนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย 6 โมดูล จำนวนชั่วโมงการเรียนทั้งหมด 300 ชั่วโมง (60 ชั่วโมงทฤษฎี : 240 ชั่วโมงปฏิบัติ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้อบรม........40............คน
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
1 ด้านความรู้
1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม
4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้
2 ด้านปัญญา
1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้
2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0028
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“ วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0028 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1 ด้านความรู้
1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่
3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม
4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้
2 ด้านปัญญา 1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ 2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รายชื่อสถานประกอบการในกลุ่มอุตสาหกรรมงานหล่อ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ 1) บริษัทบรรจงอินดัสเตรียล จำกัด 2) บริษัทสมพงษ์ และ โคชิน (ไทยแลนด์) จำกัด 3) บริษัทเมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมีเนียม จำกัด 4) บริษัทพรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด 5) บริษัทโชคชยั ออลเมทอลเซอร์วสิ จำกัด 6) บริษัทบรรจงอินดัส เตรียล จำกัด 7) บริษัททรัพย์เจริญรุ่งเรืองสตีลจำกัด 8) สมาคมอุตสาหกรรมหล่อโลหะไทย
- ระยะเวลาในการศึกษาในสถานประกอบการการดำเนินการ
ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2565 ถึงวันที่ 18 กันยายน 2565 โดยเนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย 6 โมดูล จำนวนชั่วโมงการเรียนทั้งหมด 300 ชั่วโมง (60 ชั่วโมงทฤษฎี : 240 ชั่วโมงปฏิบัติ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ มาจากแบบสำรวจความพึ่งพอใจของผู้เข้าอบรบโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) หลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ที่มาจากแต่ละสถานประกอบการ สามารถรวบรวมข้อเสนอแนะได้ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่
1) ด้านการอบรม
พบว่าเนื้อหาในการฝึกอบรมตรงกับวัตถุประสงค์ในระดับดีมาก ระยะเวลาในการฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี หลักสูตรเอื้ออานวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของผู้เข้าอบรมอยู่ในระดับดี และสามารถนาสิ่งที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก จึงกล่าวได้ว่าด้านการจัดอบรมได้รับความพึ่งพอใจในระดับที่ดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือเป็นหลักสูตรที่มีการสอนและประยุกต์หลายรายวิชา ทั้งในภาคทฤษฎีและปฎิบัติ จึงเหมาะสมสำหรับผู้เข้าอบรมครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง
2) ด้านวิทยากร
พบว่าความสามารถในการถ่ายทอด/สื่อสาร/ความเข้าใจของวิทยากร การเรียงลำดับบรรยายเนื้อหาได้ครบถ้วน การเปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น การตอบคำถามได้ตรงประเด็นและชัดเจนทั้งหมดอยู่ในระดับดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือวิทยากรได้ถ่ายทอดความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงตามการปฏิบัติงานของสถานประกอบการ
3) ด้านสถานที่และการบริการ
พบว่าสถานที่จัดอบรมเหมาะสม เจ้าหน้าที่ดูแลอำนวยความสะดวกได้ตามความเหมาะสมอยู่ในระดับดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับสถานที่และการบริการเป็นที่พึ่งพอใจและประทับใจ
4) ข้อเสนอแนะอื่นๆ ส่วนมากต้องการให้ทำการจัดหลักสูตรอบรมในลักษณะที่ได้ลงมือปฎิบัติงานจริงที่เหมาะกับการทำงานในภาคอุตสาหกรรมแบบโครงการนี้อีก
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 1
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
- การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 1 |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดประกอบหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติการ
หลักสูตรวัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ วัน เวลา หัวข้อ รายละเอียด
โมดูล 1 พื้นฐานโครงสร้างของโลหะ
11 มิถุนายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การเตรียมชิ้นงานเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างของโลหะ
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สว่าง ฉันวิทย์
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
ทฤษฎี; โลหะกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายใน;
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
3. ผศ.อัญชลี อินคำปา
วิทยากรภายนอก; 24 กรกฎาคม2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการการควบคุมคุณภาพการผลิตเหล็กหล่อเทา
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สว่าง ฉันทวิทย์
วิทยากรภายนอก; 14 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Malleable
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; 18 สิงหาคม 2565 08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด วิทยากรภายใน; 1. อ.มารุต เขียวแก่ 2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านการอบชุบ/การชุบผิว ชิ้นส่วนยานยนต์ - การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน (กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน) 20 สิงหาคม 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; การอบชุบ Flame hardening
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก;
สถานที่; มทร.กรุงเทพ
วิทยากรภายใน;
1. ดร.ทินโน ขวัญดี
2. อ.มารุต เขียวแก่
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก; โมดูล 5 โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
21 สิงหาคม 2565
09.00 – 12.00 น. การสอนออนไลน์
ทฤษฎี; โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
วิทยากรภายนอก;
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก;
สถานที่; ม.มหิดล
วิทยากรภายใน;
1. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
2. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
วิทยากรภายนอก; 15 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
สถานที่; บริษัท พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด
วิทยากรภายใน;
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
วิทยากรภายนอก; สถานประกอบการ ปฏิบัติ; ปฏิบัติการด้านวิเคราะห์ข้อบกพร่องของงานหล่อ
- การวิเคราะห์จริงในการปฏิบัติงาน
(กลุ่มย่อยกลุ่มละ 10 คน)
ศึกษาดูงาน
17 กันยายน 2565
08.00 – 12.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
- ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี
13.00 – 17.00 น. ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
สถานที่; บริษัท เอส พี เมตัลเวอร์ค จำกัด
1. อ.มารุต เขียวแก่
2. ผศ.สุวิมล เจียรธราวานิช
3. อ.สุพัตรา กฤษวัฒนากรณ์
4. ผศ.อัญชลี อินคำปา ปฏิบัติ; ศึกษาดูงานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานหล่อชิ้นส่วนยานยนต์
ตัวอย่างกรณีศึกษาการปฏิบัติงานที่ดี
นำเสนอ Project
18 กันยายน 2565 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตารางแสดงขั้นตอนการประเมินผลหรือวิธีการวัด (Assessment) ความสามารถ และหรือ ผลการเรียนรู้ ในเชิงคุณภาพอย่างชัดเจน ผลการเรียนรู้ วิธีการวัด (Assessment) ด้านความรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ การทดสอบก่อนและหลังการอบรม / การสอบวัดประเมินผล / การตอบคำถาม 2. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน / การสังเกตุระหว่างปฏิบัติการ 3. สามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน ด้านปัญญา 1. สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ ใช้เทคนิคการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และการประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ 2. สามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ การประเมินจากการประยุกต์ใช้ในการทำงาน หรือต่อยอดในการประกอบธุรกิจของตนเองได้ / การประเมินจากโครงงาน (Project) หรือชิ้นงาน
1) ภาคทฤษฎี วัดผลจากการเข้าเรียน การสอบ-ถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น การนำเสนอผลงาน หรือการทำแบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์การประเมินคิดเป็นร้อยละ 40 จากคะแนนรวมทั้งหมด
2.6 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) 1 ด้านความรู้ 1) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ 2) ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจด้านวัสดุวิศวกรรมที่ใช้เป็นพื้นฐานในกระบวนการหล่อโลหะสำหรับการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ 3) ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ร่วมกับการฝึกทักษะการปฏิบัติงานหล่อโลหะได้อย่างเหมาะสม 4) ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบปรับปรุงกระบวนการผลิตให้สอดคล้องกับเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ได้ 2 ด้านปัญญา 1) ผู้เข้าอบรมสามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านวัสดุวิศวกรรมสำหรับงานหล่อได้ 2) ผู้เข้าอบรมสามารถปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านงานหล่อ ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้
|
40 | 0 |
2. การจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2 |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอน Module 1 - Module 6 รุ่น 2
วันเวลาการจัดการเรียนการสอน เนื้อหาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน 40 วัน (300 ชม.) 1) ภาคทฤษฎี จัดการเรียนการสอนออนไลน์ จำนวน 10 วัน 2) ภาคปฏิบัติการ สถานที่จัดการเรียนการสอนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และสถานประกอบการสมาชิกกลุ่มอุตสาหกรรมหล่อโลหะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จำนวน 29 วัน 3) การศึกษาดูงาน สถานประกอบการสมาชิกกลุ่มอุตสาหกรรมหล่อโลหะ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจำนวน 1 วัน โดยเนื้อหาหลักสูตรประกอบด้วย 6 โมดูล จำนวนชั่วโมงการเรียนทั้งหมด 300 ชั่วโมง (60 ชั่วโมงทฤษฎี : 240 ชั่วโมงปฏิบัติ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้อบรม........40............คน
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
วัสดุวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมงานหล่อเพื่อยานยนต์ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0028
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......