directions_run

หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรม Module 4 - กลุ่ม 35 สิงหาคม 2565
5
สิงหาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SolidWorks

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์

อบรม Module 2 - กลุ่ม 330 กรกฎาคม 2565
30
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรม Module 3 SolidWorks Flow Simulation

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน

อบรม Module 3 - กลุ่ม 325 กรกฎาคม 2565
25
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรม Module 3 - SolidWorks Heat Simulation

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions

การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow

การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow

อบรม Module 3 - กลุ่ม 123 กรกฎาคม 2565
23
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การวิเคราะห์ปัญหาการไหล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทบทวนความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจำลองปัญหาการไหลด้วยคอมพิวเตอร์ (CFD) เช่น สมการควบคุมทางกลศาสตร์ของไหล กรรมวิธีทางปริมาตรจำกัด (Finite Volume method) - หลักการ 3 ขั้นตอนของวิธีการทำ CFD การจำลองปัญหาการไหลใน 2 มิติด้วย CFD: การไหลภายใน (internal flow) และการไหลภายนอก (External flow) - ปัญหา Couette flow ปัญหา Poiseuill flow - ปัญหา Mixed flow (Couette + Poiseuill) - Basic visualizations: velocity vectors, pressure contours, streamlines - ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 2 มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow

การจำลองปัญหาการไหลใน 3 มิติด้วย CFD: - ปัญหาไหลผ่านปีกเครื่องบิน - ปัญหาการไหลผ่านรถยนต์ - การคำนวณแรงต้านอากาศ (Drag force) - การคำนวณแรงยกอากาศ (Lift force) - ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 3มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow

อบรม Module 3 - กลุ่ม 223 กรกฎาคม 2565
23
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรม Module 2 SolidWorks Flow Simulation

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การวิเคราะห์การไหล

อบรม Module 2 - กลุ่ม 21 กรกฎาคม 2565
1
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches) - การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads) - การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence - การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing) - การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element) - การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and Structure)

การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element) - กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ - การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element) - กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ

ความเสียหายและความล้าของวัสดุ (Failure and Fatigue analysis) - การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis) - การวิเคราะห์ความเสียหายจากการโก่งเดาะ (Buckling) - การวิเคราะห์ความล้าของวัสดุ (Fatigue analysis) - การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis) - กรณีศึกษาการหาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง

อบรม Module 2 - กลุ่ม 11 กรกฎาคม 2565
1
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis

การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions

การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow

อบรม Module 1 - กลุ่ม 311 มิถุนายน 2565
11
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches) - การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads) - การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence - การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing) - การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element) - การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and

การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element) - การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element) - การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis) - การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)

อบรม Module 1 - กลุ่ม 211 มิถุนายน 2565
11
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน กลุ่ม 2

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection

การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis

การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions

การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow

การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow

อบรม Module 1 - กลุ่ม 111 มิถุนายน 2565
11
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง กลุ่ม 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches)
  • การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads)
  • การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence
  • การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing)
  • การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element)
  • การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and Structure)
  • การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element)
  • กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ
  • การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element)
  • กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ
  • การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis)
  • การวิเคราะห์ความเสียหายจากการโก่งเดาะ (Buckling)
  • การวิเคราะห์ความล้าของวัสดุ (Fatigue analysis)
  • การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)
  • กรณีศึกษาการหาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง
ปฐมนิเทศ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสัมฤทธิบัตร11 มิถุนายน 2565
11
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บรรยาย ช่วงที่ 1 “เกี่ยวกับหลักสูตร Non-Degree : CAE”         - แผนการดำเนินกิจกรรม ขั้นตอน
        - รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผล         - เงื่อนไขการรับสัมฤทธิบัตร บรรยาย ช่วงที่ 2 “เกี่ยวกับ Simulation Technique” - โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์ - ปัญหาทางวิศวกรรมด้าน Solid Mechanics - ปัญหาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทความร้อน - ปัญหาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการไหล - กรณีศึกษา บรรยาย ช่วงที่ 3 “เกี่ยวกับการทำโครงงานหรือ Capstone Project” - การกำหนดหัวข้อโครงงาน - เอกสารและการดำเนินโครงงาน - การประเมินผลโครงงาน บรรยาย ช่วงที่ 4 “ขั้นตอนและวิธีการ Coaching” - เอกสารที่เกี่ยวข้อง - ช่องทางการติดต่อประสานงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แบ่งผู้เข้าร่วมอบรมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความสมัครใจของผู้เข้าอบรม 1.  กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม ANSYS (Onsite at SUT + Online Zoom) 2.  กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SUT + Online Zoom) 3.  กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SNC Rayong)

คัดเลือกผู้เรียน1 มิถุนายน 2565
1
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประกาศแจ้งกำหนดการสัมภาษณ์คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ
  • สัมภาษณ์ความต้องการของผู้เข้าร่วมโครงการ ความคาดหวังของผู้เรียน ความคาดหวังของสถานประ พูดคุย
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 58 คน

รับสมัครผู้เรียน29 เมษายน 2565
29
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย วีณา ฟั่นเพ็ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ ประชาสัมพันธ์ทางอีเมลถึงสถานประกอบการที่มีความร่วมมือ เปิดรับสมัครรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565 ถึง 17 เมษายน 2565 ได้ผู้สมัครเข้าร่วมจำนวน 34 คน รอบที่ 2 ขยายการรับสมัครไปจนถึงวันที่ 29 เมษายน 2565 สรุปจำนวนผู้สมัครทั้งหมดเป็นจำนวน 57 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 57 คน เป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 11 ราย (คิดเป็นร้อยละ 19.3) ของจำนวนผู้สมัครทั้งหมด เป็นบุคคลากรจากสถานประกอบการจำนวนทั้งสิ้น 44 คน (ร้อยละ 80.7) จาก 9 สถานประกอบการ

  1. บริษัท มินีแบ มิตซูมิ (ประเทศไทย) จำกัด
  2. บริษัท อินเทลลิเจนท์ คอนโทรล จำกัด
  3. สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
  4. บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด
  5. บริษัท เอ็มเอ็มไอ พรีซิชั่น แอสเซมบลิ (ไทยแลนด์) จำกัด
  6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตระยอง
  7. บริษัท เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชั่น จำกัด
  8. บริษัท อินฟินิตี้ พาร์ท จำกัด
  9. บริษัท เอส เอ็น ซี ครีเอติวิตี้ แอนโทโลจี จำกัด