แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ การบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานในศตวรรษที่ 21
รหัสโครงการ FN64/0107 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 มกราคม 2566
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2565 ถึงเดือน มกราคม 2566
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. พิธีเปิดการฝึกอบรมและดำเนินการฝึกอบรม และฝึกอบรมโมดูลที่ 1 การพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน |
||
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นบุคลากร เจ้าหน้าที่ของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ได้แก่ ผู้บริหารหลายระดับ บุคลากรระดับปฏิบัติการ ผู้นำชุมชน ซึ่งมีความหลากหลาย แตกต่างกันในด้านคุณวุฒิ วัยวุฒิ และตำแหน่งหน้าที่ในการทำงาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
2. ฝึกอบรมโมดูลที่ 1 การพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน (ต่อ) |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 16:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
การคิดเชื่อมโยง คือ ความสามารถในการคิดเอาเรื่องราว ประสบการณ์ ความรู้ต่าง ๆ จากหลากหลายแหล่งที่มา มาร้อยเรียงเป็นเรื่องราวเพื่อให้เห็นภาพใหญ่ของสิ่งที่เรากำลังต้องการศึกษา การเชื่อมโยงต้องมีการฝึกฝน หากเรามีความสามารถคิดเชื่อมโยงได้ดี เราจะจะสามารถใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มีไปประยุกต์ใช้ได้ทันที การคิด เป็น เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสมอง การคิดเป็นนามธรรมที่ไม่สามารถสัมผัสได้ด้วยตาเปล่าการที่จะรู้ว่ามนุษย์คิดอะไร คิดอย่างไร จะต้องสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดง และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุเป้าหมายได้ การคิดมีหลายระดับชั้น ซึ่งการคิดพื้นฐานเป็นการคิดทั่วไป มีหลายประเภท ได้แก่ การคิดแบบรวดเร็ว การคิดคล่องแคล่ว การคิดละเอียดละออ การคิดเชื่อมโยง เป็นต้น ซึ่งการคิด มีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาแสวงหาคำตอบตัดสินใจหรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงหัวข้อการคิดรวดเร็ว การคิดละเอียดละออ และการคิดเชื่อมโยง
1. วิทยากรอ่านจดหมายของบัดดี้
|
45 | 0 |
3. ฝึกอบรมโมดูลที่ 1 การพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง1 กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
4. พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือว่าด้วยโครงการบัณฑิตพันธ์ุใหม่ Non-degree |
||
วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงเกิดความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และเทศบาลเมือกระทุ่มแบน อันเป็นจุดเริ่มต้นของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และ เทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ที่จะทำให้องค์ความรู้อันเกี่ยวเนื่องกับ โครงการ Non-Degree การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาศักยภาพ การทำงานในศตวรรษที่ 21 ขยายผลออกไปในวงกว้าง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง10.00 น. ลงทะเบียน
10.30 น. ผู้ดำเนินรายการกล่าวต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ
• นายสุระศักดิ์ ศรีปาน คณบดีคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กล่าวรายงานความเป็นมาของบันทึกข้อตกลง ว่าด้วย โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ Non-Degree หลักสูตรบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานในศตวรรษที่ 21
|
60 | 0 |
5. ฝึกอบรมโมดูลที่ 2 การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง |
||
วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงหัวข้อที่ 1 การสังเกต ลักษณะ วิธีการ ความสำคัญ การนำไปประยุกต์ใช้
1. กิจกรรมอ่านจดหมายของบัดดี้ พร้อมเสนอธีมของขวัญบัดดี้ในวันถัดไป
2. กิจกรรมเตรียมความพร้อม และแบ่งกลุ่ม 9 กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เลือกหัวหน้ากลุ่ม 1 คน เลือกผ้าพันคอสีประจำกลุ่ม
3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติกิจกรรมการสังเกต A โดยวิทยากรมอบหมายให้แต่ละกลุ่ม ไปสังเกตนอกห้องเรียน 30 นาที โดยไม่แจ้งวัตถุประสงค์ หรือวิธีการใด ๆ (ทีมวิทยากรไปจัดเตรียมเป้าหมาย สถานที่ติดป้ายจุดสังเกตไว้ล่วงหน้าโดยไม่แจ้งให้ผู้ฝึกอบรมทราบ) ให้แต่ละกลุ่มจดบันทึกสิ่งที่ได้สังเกตมา หัวข้อที่ 2 ทักษะการคิดระดับสูง ความหมายความสำคัญ และกิจกรรมการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข
1. เตรียมความพร้อม กระบวนการกลุ่มและกระชับความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม
2. วิทยากรบรรยาย เนื้อหาทฤษฏี ความหมาย ความสำคัญของทักษะการคิดระดับสูง หัวข้อทักษะการคิดระดับสูงและกิจกรรมการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข 1. วิทยากรบรรยายอธิบายความหมายของการคิดขั้นสูง การคิดขั้นสูงเชิงตัวเลข ความสำคัญของการคิดขั้นสุูงเชิงตัวเลข โดยให้ผู้เข้าร่วมอบรมอธิบาย และยกตัวอย่าง รวมถึงความสำคัญของของการคิดในลักษณะนี้ 2. ยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมเห็นว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวและมีความสำคัญอย่างยิ่ง 3. ยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตการทำงาน และให้ผุ้เข้ารับการอบรมได้ร่วมกันแก้ปัญหา 4. ร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการคิดขั้นสูงเชิงตัวเลข
|
45 | 0 |
6. ฝึกอบรมโมดูลที่ 1 การพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน (ต่อ) |
||
วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงหัวข้อที่ 1 การคิดย้อนกลับ และการนำความคิดย้อนกลับไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน
1. วิทยากรอ่านจดหมายถึงบัดดี้ และกิจกรรมเตรียมความพร้อม
2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 9 กลุ่ม หัวข้อที่ 2 การคิดจินตนาการและการสร้างแรงบันดาลใจ ความสำคัญและการประยุกต์ใช้ในการทำงาน
1. วิทยากรบรรยายทฤษฏีการคิดจิตนาการและการสร้างแรงบันดาลใจ
2. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 9 กลุ่ม
|
45 | 0 |
7. ฝึกอบรมโมดูลที่ 2 การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง (ต่อ) |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงหัวข้อการคิดบวก และการสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
1.วิทยากรอ่านจดหมายถึงบัดดี้
2. วิทยากรบรรยายเนื้อหาทฤษฎีการคิดบวก วิธีการ และการนำไปใช้ในการทำงาน
|
45 | 0 |
8. ฝึกอบรมโมดูลที่ 2 การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง (ต่อ) |
||
วันที่ 29 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิตที่ได้จากกิจกรรมการวิเคราะห์จากเรื่องราว คือ ผลงานการระดมสมองวิเคราะห์จากเรื่องราว จำนวน 9 ผลงาน ผลผลิตที่ได้จากกิจกรรมการคิดวิเคราะห์เชิงภาษา คือ ผลงานร้อยเนื้อทำนองเดียว จำนวน 9 ผลงาน ผลลัพธ์ ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการสำคัญของกระบวนการคิดได้ อธิบายทักษะการคิดระดับสูงได้ อธิบายวิธีการนำการคิดระดับสูงไปปรับใช้ในงานอาชีพได้ ตระหนักในความสำคัญของการพัฒนาทักษะการคิดระดับสูงได้ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงกิจกรรมการคิดวิเคราะห์จากเรื่องราว และ การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา 1. วิทยากรอ่านจดหมายถึงบัดดี้ 2. วิทยากรบรรยายการคิดวิเคราะห์จากเรื่องราว ความสำคัญของการคิดวิเคราะห์จากเรื่องราว 3. กิจกรรมการคิดวิเคราะห์จากเรื่องราว โดย แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 9 กลุ่ม ให้ดูคลิปวิดีโอ โครงการโตไปไม่โกง เรื่อง โดนัท 4. ให้แต่ละกลุ่มวิเคราะห์เรื่องราวจากวิดีโอ ได้แก่ สถานการณ์ที่เกิดขึ้น สาเหตุ ปัญหา และแนวทางแก้ไขในมุมมองของตัวละคร และมุมมองของกลุ่ม 5. วิทยากรพี่เลี้ยงประจำกลุ่มให้คำปรึกษาและสังเกตการณ์อย่างใกล้ชิด 6. นำเสนอผลการวิเคราะห์ของแต่ละกลุ่มและวิพากษ์ 7. วิทยากรสรุปกิจกรรมการวิเคราะห์จากเรื่องราว และผุ้เรียนเขียนสะท้อนคิด
|
45 | 0 |
9. ฝึกอบรมโมดูลที่ 2 การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง (ต่อ) |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
10. ฝึกอบรมโมดูลที่ 3 เครื่องมือในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
11. ฝึกอบรมโมดูลที่ 3 เครื่องมือในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 (ต่อ) |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
12. ฝึกอบรมโมดูลที่ 3 เครื่องมือในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 (ต่อ) |
||
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้ข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุงการนำนวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้ในสถานการณ์จริง เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงปฏิบัติ ให้คำปรึกษา แนะนำ ปรับปรุงการนำนวัตกรรมที่สร้างขึ้นไปใช้ในสถานการณ์จริง เป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
|
45 | 0 |
13. ฝึกอบรมโมดูลที่ 3 เครื่องมือในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 (ต่อ) |
||
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง2.1 บอกวิธีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้ถูกต้อง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงเทคนิคการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทำงาน
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ความรู้และทักษะการใช้ Line ในการทำงาน
|
45 | 0 |
14. ฝึกอบรมโมดูลที่ 4 การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ |
||
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงข้อสรุปที่ได้จากกิจกรรม มี ดังนี้
1. โจทย์จากสถานการณ์ในพื้นที่จริง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
15. ฝึกอบรมโมดูลที่ 4 การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ (ต่อ) |
||
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
16. ฝึกอบรมโมดูลที่ 4 การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ (ต่อ) |
||
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
17. ฝึกอบรมโมดูลที่ 4 การประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ (ต่อ) |
||
วันที่ 16 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
18. ฝึกอบรมโมดูลที่ 5 การบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์กร |
||
วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
19. ฝึกอบรมโมดูลที่ 5 การบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์กร (ต่อ) |
||
วันที่ 23 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงโจทย์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา ที่ผู้เรียนแต่ละกลุ่มพัฒนาขึ้นตามกรอบนโยบายชมรมแลกยิ้มสร้างรักของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน มีดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้นำชุมชน = โจทย์แก้ปัญหาขยะในคลองภาษีเจริญ วิธีการแก้ไขปัญหา โดยจัดทำโครงการแพลูกบวบกำจัดขยะ กลุ่มที่ 2 กลุ่มครูเด็กเล็ก = โจทย์การปลูกฝังจิตพิสัยการทิ้งขยะ วิธีการแก้ไขปัญหา รูปแบบวิธีการแยกขยะสำหรับเด็กอนุบาล กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้สูงอายุ = โจทย์การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ วิธีการแก้ไขปัญหา โครงการส่งเสริมและพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุตามแนวทางวิถีพุทธ กลุ่มที่ 4 กลุ่ม อสม. = โจทย์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน วิธีการแก้ไขปัญหา โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุออนไลน์ กลุ่มที่ 5 กลุ่มพนักงานเทศบาล = โจทย์การพัฒนาคุณภาพการบริการงานเทศบาล วิธีการแก้ไขปัญหา โครงการ Smart กระทุ่มแบน กลุ่มที่ 6 กลุ่มโรงเรียนเทศบาลดอนไก่ดี = โจทย์การกำจัดขยะเศษอาหารเปียกในโรงอาหารโรงเรียน วิธีการแก้ไขปัญหา เครื่องกำจัดขยะเศษอาหารและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
20. ฝึกอบรมโมดูลที่ 5 การบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์กร (ต่อ) |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิตที่ได้คือ โครงการนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ที่พร้อมนำไปดำเนินการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 6 ฉบับ ได้แก่ มีดังนี้ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้นำชุมชน = โครงการแพลูกบวบกำจัดขยะ กลุ่มที่ 2 กลุ่มครูเด็กเล็ก = โครงการวิธีการแยกขยะสำหรับเด็กอนุบาล กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้สูงอายุ = โครงการส่งเสริมและพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุตามแนวทางวิถีพุทธ กลุ่มที่ 4 กลุ่ม อสม. = โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุออนไลน์ กลุ่มที่ 5 กลุ่มพนักงานเทศบาล = โครงการ Smart กระทุ่มแบน กลุ่มที่ 6 กลุ่มโรงเรียนเทศบาลดอนไก่ดี = เครื่องกำจัดขยะเศษอาหารและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
21. ฝึกอบรมโมดูลที่ 5 การบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาองค์กร (ต่อ) |
||
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิตที่ได้คือ แบบจำลองต้นแบบนวัตกรรมผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 6 แบบ ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้นำชุมชน ต้นแบบนวัตกรรมการกำจัดขยะในคลองภาษีเจริญด้วยแพลูกบวบแบบซิกแซก กลุ่มที่ 2 กลุ่มครูเด็กเล็ก ต้นแบบการนำขยะของเหลือใช้มาประดิษฐ์เพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ กลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้สูงอายุ ร่างหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพจิตใจผู้สูงอายุตามวิถีพุทธ กลุ่มที่ 4 กลุ่ม อสม. ร่างหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนด้วยการออนไลน์ กลุ่มที่ 5 กลุ่มพนักงานเทศบาล ต้นแบบอุปกรณ์การประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการแบบเรียลไทม์ กลุ่มที่ 6 กลุ่มโรงเรียนเทศบาลดอนไก่ดี ต้นแบบเครื่องกำจัดขยะและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
22. ฝึกอบรมโมดูลที่ 6 การประเมินผลนวัตกรรมสร้างสรรค์และเสนอผลงาน |
||
วันที่ 7 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
23. ฝึกอบรมโมดูลที่ 6 การประเมินผลนวัตกรรมสร้างสรรค์และเสนอนำผลงาน (ต่อ) |
||
วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผู้เรียนทั้ง 6 กลุ่ม ได้ซักซ้อมการนำเสนอผลงานนวัตกรรมเทคนิคการพูด การนำเสนอสิ่งสำคัญของนวัตกรรม และฝึกการประเมินนวัตกรรม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
24. ฝึกอบรมโมดูลที่ 6 การประเมินผลนวัตกรรมสร้างสรรค์และเสนอนำผลงาน (ต่อ) |
||
วันที่ 14 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการดำเนินกิจกรรม มีผู้ฝึกอบรมนำเสนอนวัตกรรม จำนวน 6 กลุ่ม ดังนี้ 1 กลุ่มผู้นำชุมชน โครงการแพลูกบวบกำจัดขยะ 2 กลุ่มครูเด็กเล็ก โครงการแยกขยะสำหรับเด็กอนุบาล 3 กลุ่มผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมและพัฒนาจิตใจผู้สูงอายุตามวิถีพุทธ 4 กลุ่มอสม. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบออนไลน์ 5 กลุ่มเจ้าหน้าที่เทศบาล โครงการแก้ปัญหาการบริการภายในเทศบาล 6 กลุ่มโรงเรียนเทศบาลดอนไก่ดี โครงการเครื่องกำจัดขยะเศษอาหารและผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ในการประเมินนวัตกรรม ใช้แบบประเมินนวัตกรรมสร้างสรรค์โครงการหลักสูตร Non-Degree หลักสูตรบูรณาการความคิดสร้างสรรคเพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานในศตวรรษที่ 21 ผู้ประเมินเป็นผู้บริหารระดับสูงของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน 5 ท่าน ประกอบด้วย นายนิวัตน์ ขวัญบุญ นายกเทศมนตรี นางสาวชนิดาภา นิลภูศรีปลัดเทศบาล นายเจษฏา จิราสุคนธ์ รองปลัดเทศบาล นางสาววรรณชนก บุญญะโสภัต ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม และนายบรรพต กิจรุ่งเรืองกุล สมาชิกสภาเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน ส่วนวิธีการประเมิน ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอโครงการ พร้อมด้วยแบบจำลองความคิดหรือแบบจำลองต้นแบบนวัตกรรม กลุ่มละ 15 นาที ในขณะที่แต่ละกลุ่มนำเสนอนั้น ได้รับความสนใจจากผู้บริหารที่มาเป็นผู้ประเมินอย่างยิ่ง โดยได้ซักถามและตรวจสอบแบบจำลองความคิดอย่างใกล้ชิด ซึ่งในการนี้ นายนิวัตน์ ขวัญบุญ และ นางสาวชนิดาภา นิลภูศรี ปลัดเทศบาล ได้เล็งเห็นความสำคัญของโครงการนวัตกรรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม จึงจะสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการนวัตกรรม และจะขยายผลโดยนำไปบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติงานประจำปีของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบนต่อไป กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
25. ฝึกอบรมโมดูลที่ 7 การฝึกทักษะในองค์กร |
||
วันที่ 17 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
26. ฝึกอบรมโมดูลที่ 7 การฝึกทักษะในองค์กร |
||
วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลการติดตามโดยการสังเกตพฤติกรรมและสัมภาษณ์หัวหน้างาน พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีอารมณ์ดี มีทัศนคติที่ดีในการทำงาน มีมนุษยสัมพันธ์ และมีความคิดสร้างสรรค์ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริงติดตามการฝึกทักษะในองค์กรโดยการสังเกตพฤติกรรมและสัมภาษณ์หัวหน้างาน
|
45 | 0 |
27. ฝึกอบรมโมดูลที่ 7 การฝึกทักษะในองค์กร |
||
วันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลการติดตามโดยการสังเกตพฤติกรรมและสัมภาษณ์หัวหน้างาน พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถแก้ไขปัญหาในสถานการณ์จริง หรือปัญหาขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพของตนได้ มีทักษะความคิดสร้างสรรค์ในการทำงานในศตวรรษที่ 21 และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพของตน มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานและภาคภูมิใจในความเป็นนวัตกร กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
28. ประชุมสรุปผลการฝึกอบรมและมอบประกาศนียบัตร |
||
วันที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงมีผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีจำนวน 45 คน เข้ารับประกาศนียบัตร 45 คน ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีดังนี้ 1 ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการฝึกอบรม ไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจริง 4.80 มากที่สุด 2 ท่านอยากให้จัดกิจกรรมเช่นนี้อย่างต่อเนื่อง 4.95 มากที่สุด 3 ท่านมีความพึงพอใจที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละครั้ง 4.91 มากที่สุด 4 วิทยากรมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง 4.99 มากที่สุด 5 วิทยากรเปิดโอกาสให้ท่านได้ซักถาม แสดงความพึงพอใจ แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง 4.98 มากที่สุด ข้อเสนอแนะจากผู้เข้าฝึกอบรม มีดังนี้
เป็นกิจกรรมที่ดีมาก มีประโยชน์ นำไปใช้ได้จริง อยากให้จัดฝึกอบรมแบบนี้อีกบ่อย ๆ เป็นกิจกรรมที่รอคอยอยากให้ถึงเวลาฝึกอบรมไวไว ได้หัวเราะได้ออกกำลังกาย ได้เข้าสังคมรู้จักเพื่อนเพิ่มขึ้น มีเครือข่ายในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ได้ฝึกความคิดสร้างสรรค์แบบไม่รู้ตัวจากง่ายไปยาก เอาไปประยุตก์ใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง ๆ ความคิดเห็นจากเทศบาลเมืองกระทุ่มแบนที่มีต่อคุณภาพบัณฑิต มีดังนี้ (เป็นไปตามทักษะ สมรรถนะ ที่สถานประกอบการคาดหวังหรือไม่ อย่างไร) หลักสูตรบูรณาการความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานในศตวรรษที่ 21 เป็นหลักสูตรที่ดีมากทางเทศบาลเมืองกระทุ่มแบนมีความพึงพอใจอย่างยิ่งต่อการส่งบุคลากรเข้าร่วมโครงการ บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามที่คาดหลัง บุคลากรมีความเต็มใจ ตระหนักในความสำคัญของหลักสูตรโดยมีความสนใจ กระตือรือร้น ให้ความร่วมมือในการฝึกอบรมเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นโครงการเรื่องใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน กิจกรรมในการฝึกอบรมมีความใหม่ มีการบูรณาการความรู้ระหว่างกลุ่มหน่วยงานภายในองค์กร ทักษะที่ฝึกอบรมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการทำงานได้จริง ทำให้บุคลากรสามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อนำมาพัฒนางานได้ และนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นนั้นเป็นนวัตกรรมที่ตอบสนองต่อความต้องการในท้องถิ่น เพิ่มศักยภาพการพัฒนาชุมชนได้จริงและนำโครงการนวัตกรรมไปต่อยอดได้อย่างหลากหลายวิธีการ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน มีดังนี้
1) ข้อเสนอแนะด้านเนื้อหาของหลักสูตรและรูปแบบการฝึกอบรม
พบว่า เนื้อหาหลักสูตรและกิจกรรมในหลักสูตร ตรงกับวัตถุประสงค์ในระดับดีมาก ระยะเวลาในการฝึกอบรมมีความเหมาะสม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะและสมรรถนะตรงกับความต้องการขององค์กร หลักสูตรเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของผู้เข้าอบรมอยู่ในระดับดีมาก และสามารถนำสิ่งที่ได้รับจากโครงการนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีมาก จึงกล่าวได้ว่าด้านการจัดอบรมได้รับความพึงพอใจในระดับที่ดีมาก และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือเป็นหลักสูตรที่มีการสอนและประยุกต์หลายรายวิชา ทั้งในภาคทฤษฎีและปฎิบัติ เรียนจากง่ายไปยาก และใช้วิธีการสอนผ่านกิจกรรม จึงเหมาะสมสำหรับผู้เข้าอบรมครั้งนี้เป็นอย่างยิ่ง
2) ด้านวิทยากร
พบว่า วิทยากรความสามารถในการถ่ายทอด/สื่อสาร/ความเข้าใจของวิทยากร การเรียงลำดับบรรยายเนื้อหาได้ครบถ้วน การเปิดโอกาสให้ซักถามและแสดงความคิดเห็น การตอบคำถามได้ตรงประเด็นและชัดเจนทั้งหมดอยู่ในระดับดีมาก มีเทคนิคการสอนที่ดีทำให้ไม่น่าเบื่อ เข้าใจง่าย และข้อเสนอแนะที่ได้รับคือวิทยากรได้ถ่ายทอดความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริงตามการปฏิบัติงาน ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถสร้างนวัตกรรมได้
3) ข้อเสนอแนะอื่นๆ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง
|
45 | 0 |
29. ประชุม online คณะวิทยากรร่วมกับผู้ประสานงานโครงการของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน |
||
วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง1 กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง1
|
11 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 55 | 29 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 1,200,000.00 | 1,200,000.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 116 |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
(................................)
ผู้รับผิดชอบโครงการ