แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน | 16 มี.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน | 1 เม.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม | 18 เม.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การจัดการเรียนวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 8 หัวข้อผ่านระบบ online | 25 เม.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ณ พื้นที่จังหวัดที่ตั้งของสถานประกอบการ หัวข้อ “การออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เส้นทาง กิจกรรม ที่พักและอาหาร” | 1 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ณ พื้นที่จังหวัดที่ตั้งของสถานประกอบการ หัวข้อ “เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาต่างประเทศเพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ” | 1 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการประเมินผู้เรียน | 1 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการการลงพื้นที่สถานประกอบการ | 14 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร | 1 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการบันทึกเทปการสอนภาคทฤษฎี | 25 เม.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 1 มิ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 1 มิ.ย. 2566 | 1 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
หัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 2 มิ.ย. 2566 | 2 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
กฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพ |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านกฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้๔กต้องตามกฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและมีจรรยาบรรณ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 3 มิ.ย. 2566 | 3 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
ธรรมะกับสมาธิเพื่อสุขภาพ
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านธรรมะกับสมาธิเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 4 มิ.ย. 2566 | 4 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านทฤษฎีการแพทย์แผนไทยเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 5 มิ.ย. 2566 | 5 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
เภสัชกรรมเบื้องต้นและความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านเภสัชกรรมเบื้องต้นและความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 6 มิ.ย. 2566 | 6 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
ประวัติ องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้การนวดไทย เส้นประสาทสิบ
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านประวัติ องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้การนวดไทย เส้นประสาทสิบ เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 7 มิ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 7 มิ.ย. 2566 | 7 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
การตรวจร่างกายเบื้องต้น
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการตรวจร่างกายเบื้องต้นเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 8 มิ.ย. 2566 | 8 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
การนวดไทยเพื่อสุขภาพ
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการนวดไทยเพื่อสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดไทยเพื่อสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 9 มิ.ย. 2566 | 9 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
การดัดตนและการบันทึกผลการนวด
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการดัดตนและการบันทึกผลการนวดเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 10 มิ.ย. 2566 | 10 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
การนวดไทยผ่อนคลาย และการทบทวนการนวดไทยเพื่อสุขภาพ
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการนวดไทยผ่อนคลายและการนวดไทยเพื่อสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดไทยผ่อนคลายและการนวดไทยเพื่อสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 11 มิ.ย. 2566 | 11 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
ทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้า
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้าเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้าได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 13 มิ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 15 มิ.ย. 2566 | 15 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
ทักษะการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย)
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย)เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย)ได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 18 มิ.ย. 2566 | 18 มิ.ย. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ
มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณะสุขได้ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 19 มิ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 25 มิ.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 1 ก.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 7 ก.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 13 ก.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 19 ก.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 29 ก.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน | 1 เม.ย. 2565 | 1 เม.ย. 2565 |
|
การประชาสัมพันธ์โครงการผ่านระบบออนไลน์และออนไซท์ผ่านช่องทางของมหาวิทยาลัย การท่องเที่ยวจังหวัด |
|
การได้ผู้สมัครจำนวน 145 คนและผู้ที่มีคุณสมบัติและผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าอบรมจำนวน 43 คน |
|
ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน | 1 เม.ย. 2565 | 1 เม.ย. 2565 |
|
การรับสมัครผู้เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์ |
|
ผู้สมัครจำนวน 128 คน |
|
การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม | 18 เม.ย. 2565 | 18 เม.ย. 2565 |
|
การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์ |
|
ผลลัพธ์ การยืนยันสิทธิ์ผู้เข้าอบรม |
|
การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม | 18 เม.ย. 2565 | 18 เม.ย. 2565 |
|
การประกาศสรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์ของผู้เข้าอบรม |
|
ผลผลิต: ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมจำนวน 43 คน |
|
ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน | 19 เม.ย. 2565 | 19 เม.ย. 2565 |
|
การประชุมวางแผนการดำเนินงานการจัดการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ |
|
ได้ตารางการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ |
|
การปฐมนิเทศน์ผู้เรียนเพื่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 30 เม.ย. 2565 | 30 เม.ย. 2565 |
|
การจัดการปฐมนิเทศน์ผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course โดยแนะนำหลักสูตร คณะอาจารย์ ข้อกำหนดและเงื่อนไขในการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ |
|
ผลลัพธ์ การสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกำหนดและเงื่อนไขในการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ |
|
หัวข้อ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 1 พ.ค. 2565 | 1 พ.ค. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการออกแบบธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ หัวข้อ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ผลลัพธ์: CLO1 ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ CLO3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการออกแบบธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
หัวข้อ: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ | 7 พ.ค. 2565 | 7 พ.ค. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าศึกษาย้อนหลังได้ที่ |
|
หัวข้อ: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ |
|
หัวข้อ: แนวคิดและหลักการการออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 13 พ.ค. 2565 | 13 พ.ค. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
Ep.13 ภาพรวมเกี่ยวกับธุรกิจสุขภาพ |
|
ผลลัพธ์: CLO 1 ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการออกแบบธุรกิจสุขภาพได้ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้การท่องเที่ยวกับการออกแบบธุรกิจสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า |
|
การลงพื้นที่เพื่อประชุมกับสถานประกอบการและผู้เข้าอบรม (อุดรธานี หนองคาย ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร) | 18 พ.ค. 2565 | 18 พ.ค. 2565 |
|
การประชุมกับกลุ่มผู้ประกอบการจังหวัดอุดรธานีเพื่อการดำเนินการอบรมภาคปฎิบัติสำหรับกลุ่มผู้อบรมภาคอีสาน |
|
1.ได้รับความร่วมมือกับโรงเรียนแพทย์แผนไทยจังหวัดอุดรธานี 2.โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย เขตสุขภาพที่ 8 (อุดรธานี) 3.บริษัทมณีนาคา สปา แอนด์ บิ้วตี้ จำกัด 4.นวดบัคคัก อุดรธานี 5.โรงเรียนนวดแผนไทย สายสลิลอคาเดมี อุดรธานีอคาเดมี |
|
หัวข้อ: การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ | 19 พ.ค. 2565 | 19 พ.ค. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
EP.19 แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการที่ดี |
|
ผลลัพธ์: 2) การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ CLO 1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพเพื่อการดำเนินการธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม |
|
หัวข้อ: การจัดการการท่องเที่ยว | 25 พ.ค. 2565 | 25 พ.ค. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
EP.25 การจัดการท่องเที่ยว |
|
ผลลัพธ์
3) การจัดการการท่องเที่ยว |
|
หัวข้อ: การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข | 1 มิ.ย. 2565 | 1 มิ.ย. 2565 |
|
รายละเอียดเนื้อหาการอบรม 1.ความหมายของการจัดนำเที่ยว 2.องค์ประกอบของการจัดนำเที่ยว 3.การจัดนำเที่ยว 4.การออกแบบและการเขียนรายการนำเที่ยว 5.การวิจัยเพื่อการท่องเที่ยว การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ |
|
4) การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข |
|
กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เสกกราฟฟิกสวยด้วย Canva) | 11 มิ.ย. 2565 | 11 มิ.ย. 2565 |
|
การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เสกกราฟฟิกสวยด้วย Canva) -INFOGRAPHIC DESIGN RULES -การสร้างกราฟิก ภาพประกอบ และโปสเตอร์สื่อประชาสัมพันธ์ด้วยสมาร์ทโฟน จาก Application Canva หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าชมคลิปการฝึกภาคปฎิบัติได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.32: 01-02 สกกราฟิกสวยด้วย Canva เข้าดูใช้งาน |
|
ผลผลิตของกิจกรรมภาคปฎิบัติ:
การประชาสัมพันธ์ธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพผ่านระบบ Social media |
|
หัวข้อ: มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย | 13 มิ.ย. 2565 | 13 มิ.ย. 2565 |
|
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
EP.46 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัย |
|
ผลลัพธ์ 6) มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย CLO1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ CLO3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการปฎิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ |
|
กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 19 มิ.ย. 2565 | 19 มิ.ย. 2565 |
|
ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
-การทำน้ำอบ น้ำปรุง เครื่องหอม สำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
-กลิ่นและฤดูกาลสำหรับการเลือกใช้ในธุรกิจสุขภาพ
-การนวดสวีดิช
-ทักษะการใช้หินเพื่อการบำบัด
หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าชมคลิปการฝึกภาคปฎิบัติย้อนหลังได้ที่ |
|
-การทำน้ำอบ น้ำปรุง เครื่องหอม สำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -กลิ่นและฤดูกาลสำหรับการเลือกใช้ในธุรกิจสุขภาพ -การนวดสวีดิช -ทักษะการใช้หินเพื่อการบำบัด |
|
กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 25 มิ.ย. 2565 | 25 มิ.ย. 2565 |
|
กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพจากบริษัทโซดาเมเนจเมนท์ |
|
ผลลัพธ์การอบรมภาคปฎิบัติ: ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวตามบริบทของพื้นที่ภูมิลำเนา |
|
มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว (CPR) | 26 มิ.ย. 2565 | 26 มิ.ย. 2565 |
|
กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว |
|
การสอบภาคปฎิบัติรายบุคคล: -การใช้สมุนไพรเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น -CPR เพื่อการช่วยชีวิต -การปฐมพยาบาลตามศาสตร์แผนไทย |
|
การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ | 1 ก.ค. 2565 | 1 ก.ค. 2565 |
|
การจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ตัวอย่างเอกสาร คุณสมบัติการเป็นผู้ประกอบการ |
|
ผลลัพธ์: การจดทะเบียนการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ |
|
ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 9 ก.ค. 2565 | 9 ก.ค. 2565 |
|
การฝึกปฎิบัติทักษะด้านหัตถเวช -การนวดราชสำนักเพื่อสุขภาพ -การนวดเท้าเพื่อสุขภาพ -การนวดประคบเพื่อรักษาอาการ |
|
การสอบภาคปฎิบัติทักษะด้านหัตถเวช -การนวดราชสำนักเพื่อสุขภาพ -การนวดเท้าเพื่อสุขภาพ -การนวดประคบเพื่อรักษาอาการ |
|
ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ | 15 ก.ค. 2565 | 15 ก.ค. 2565 |
|
ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยแบ่งกลุ่มย่อย วิทยากรหลัก: อาจารย์ธัญยภัสกรณ์ คูหาทอง วิทยากรประจำกลุ่ม: อาจารย์ณัชชนิกา เมืองเม็ก อาจารย์เสนาะจิตร สิริเลิศธีรกุล อาจารย์วิภาพร เผือกวัฒนะ |
|
ผลผลิต: ผู้เข้าอบรมสามารถปฎิบัติงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการเรียนรู้ทักษะสุคนธบำบัด ได้แก่ กลิ่นและสีสำหรับธุรกิจสุขภาพ การนวดสวีดิช การนวดลดเซลลูไลท์ การนวดเพื่อการบำบัดอาการสำหรับผู้ออกกำลังกาย/นักกีฬา ผลลัพธ์: ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะโดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดและประเมินผลผู้เรียน: การประเมินผลผู้เรียนระหว่างการเข้าร่วมกิจกรรม และการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานร่วมกัน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการซักถามอย่างไม่เป็นทางการ |
|
หัวข้อ: การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น | 21 ก.ค. 2565 | 21 ก.ค. 2565 |
|
รายละเอียดเนื้อหาการอบรม
1.ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม
2.การท่องเที่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม
3.อาหารเพื่อสุขภาพกับสมุนไพรท้องถิ่นในธุรกิจสุขภาพ
4.หลักการคัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อชูความเป็นอัตลักษณ์ทางธุรกิจสุขภาพ
5.การเพิ่มมูลค่าของอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์เฉพาะทางธุรกิจสุขภาพ
6.ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อการประกอบธุรกิจสุขภาพ
การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
EP.34 ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม |
|
ผลลัพธ์ 5) การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น CLO 1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น CLO 2 ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นได้ |
|
การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ | 23 ก.ค. 2565 | 23 ก.ค. 2565 |
|
การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ วิทยากร: ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล ดร.กนกพรรณ จุลคำภา อ.สลิลลดา คูหาทอง ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ |
|
ความรู้และทักษะการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น
คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ
ผลผลิต: เส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น
ผลลัพธ์: ผู้เข้าอบรมสามารถการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร | 23 ก.ค. 2565 | 23 ก.ค. 2565 |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
วิทยากรหลัก: อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ และ พว.อนุสรณ์ สนิทชล |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร
-การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาปรับใช้เพื่อการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ เมนูแสร้งว่ากุ้ง ขนมสายบัว เกสรลำเจียก แค๊ปหมูซ๊อสมะขาม น้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่ ขนมปุยฝ้ายไข่ไอโอดีน |
|
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน | 6 ส.ค. 2565 | 6 ส.ค. 2565 |
|
กิจกรรมการประเมินผู้เรียนการสอบภาคปฏิบัติ: |
|
ผลผลิต: ผู้เข้าอบรมสามารถมีความรู้และทักษะดังต่อไปนี้อย่างถูกต้อง - ขั้นตอนของการดำเนินการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม - ขั้นตอนการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจได้ครบถ้วน - นำเสนอการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ - ขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น - นำเสนอการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น |
|
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน | 13 ส.ค. 2565 | 13 ส.ค. 2565 |
|
กิจกรรมการประเมินผู้เรียนการสอบภาคปฏิบัติ
หัวข้อ ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ประเมินผู้เรียนโดย |
|
ผู้เรียนมีความรู้และทักษะดังนี้ -ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนของการดำเนินการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม -ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจได้ครบถ้วน - นำเสนอการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ - ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น -นำเสนอการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น |
|
การเข้าศึกษาพื้นที่สถานประกอบการ | 24 ส.ค. 2565 | 24 ส.ค. 2565 |
|
การเข้าเยี่ยมชมของผู้เข้าอบรมและพบปะเพื่อศึกษาทักษะและความรู้ภาคการปฎิบัติกับสถานประกอบด้านการบริหารจัดการสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพ |
|
การได้รับความรู้และทักษะการทำงานจริงเกี่ยวกับ - การบริหารจัดการสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพประเภท ธุรกิจสุขภาพเพื่อความงาม ธุรกิจสุขภาพเพื่อการแก้อาการ ธุรกิจสุขภาพเพื่อการพักผ่อน - การจัดหาแหล่งทุนและการจดทะเบียนเพื่อการเปิดธุรกิจสุขภาพเพื่อการท่องเที่ยว - การจัดพื้นที่การให้บริการสำหรับสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพ |
|
การนำส่งใบประกาศนียบัตร | 1 ก.ย. 2565 | 1 ก.ย. 2565 |
|
การนำส่งใบประกาศนียบัตรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อุดรธานี ขอนแก่น นครพนม อุบลราชธานี ระนอง ตรัง |
|
ใบประกาศนียบัตรจำนวน 43 แผ่น |
|
ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน | 1 มี.ค. 2566 | 1 มี.ค. 2566 |
|
|
|
จำนวนผู้สมัคร 135 คน |
|
การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน | 31 มี.ค. 2566 | 31 มี.ค. 2566 |
|
การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน |
|
ตารางการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ |
|
การประกาศรายชื่อผู้เรียนและการยืนยันสิทธิ์ | 8 เม.ย. 2566 | 8 เม.ย. 2566 |
|
การสัมภาษณ์ผู้สมัครผ่านระบบ online ตามคุณสมบัติที่ได้ระบุไว้ในหลักสูตร |
|
ประกาศรายชื่อผู้มีคุณสมบัติของผู้เรียนจำนวน 55 ท่านและได้รับการยืนยันสิทธิ์จำนวน 55 ท่าน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 1 ก.ค. 2566 | 1 ก.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข - การวิเคราะห์กลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม - การวิเคราะห์บริบทพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม - กฎหมายและข้อปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - ตัวอย่างเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยทีมวิทยากรจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คุณสุริยัน โสรินทร์ คุณอภิชาติ ม่วงชา ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 2 ก.ค. 2566 | 2 ก.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ - กฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ - การจดทะเบียนผู้ประกอบการ การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจสุขภาพ - คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการ: อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง ดร.กนกพรรณ จุลคำภา ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม |
|
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 8 ก.ค. 2566 | 8 ก.ค. 2566 |
|
การออกแบบและการจัดการพื้นที่ของสถานประกอบการเพื่อธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการออกแบบและการจัดการพื้นที่ของสถานประกอบการเพื่อธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 15 ก.ค. 2566 | 15 ก.ค. 2566 |
|
ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ |
|
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทักษะทางภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 16 ก.ค. 2566 | 16 ก.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 17 ก.ค. 2566 | 17 ก.ค. 2566 |
|
การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ | 29 ก.ค. 2566 | 29 ก.ค. 2566 |
|
กิจกรรมการเสวนา “How to be A Wellness business designer for tourism” ร่วมเสวนาโดยทีม SDU Wellness business designer |
|
ผู้เรียนนำเสนอนิทรรศการองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนการสอนของหลักสูตรการออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ต.ค. 2566 | 1 ต.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ติดตามการได้งานทำของผู้เรียน |
|
นายสุนันท์ แก้วมณีชัย และนางพรละไม แก้วมณีชัย กำลังดำเนินงานก่อสร้างสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพและการท่องเที่ยว ณ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ต.ค. 2566 | 1 ต.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ติดตามการมีงานทำของผู้เรียน |
|
ผู้เรียน นางภารดี จันทะพันธ์ เปิดธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเพื่อต่อยอดการเรียน |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ต.ค. 2566 | 1 ต.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่สัมภาษณ์การมีงานทำของผู้เรียน |
|
การได้งานทำ ณ สถานประกอบการสุขภาพ |
|