การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism)

การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร23 กรกฎาคม 2565
23
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย ผศ.ดร. ไพริน เวชธัญญะกุล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ วิทยากรหลัก: อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ และ พว.อนุสรณ์  สนิทชล
วิทยากรกลุ่ม: คุณกัลยรัตน์ พรหมพลจร  ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล                   ผศ. วริษฐา แก่นศานต์สันติ ผศ.ดร. รุ่งนภา เลิศพัชรพงศ์                   ผศ.ดร.เพ็ญพักร์ศิณา วิเชียรวรรณ
ความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร วิทยากรหลัก : อาจารย์ก่อเกียรติ  พลแสง และอาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ วิทยากรกลุ่ม: อาจารย์สุคนธ์ญาณี เถื่อนธรรมโฮง ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถรับชมภาพการสอนภาคปฎิบัติย้อนหลังได้ใน
              Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/               Ep: 52-55

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร -การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาปรับใช้เพื่อการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ เมนูแสร้งว่ากุ้ง ขนมสายบัว เกสรลำเจียก แค๊ปหมูซ๊อสมะขาม น้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่ ขนมปุยฝ้ายไข่ไอโอดีน
-เทคนิคการจัดอุปกรณ์สำหรับเสิร์ฟอาหารในรูปแบบต่างๆ -ความรู้เรื่องพืชและสมุนไพรท้องถิ่น การเลือกสมุนไพรเพื่อการประกอบอาหาร การวัดและประเมินผลผู้เรียน: การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการซักถามอย่างไม่เป็นทางการ