แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


“ ประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0056 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านผู้สูงอายุและการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความคิดอย่างมีระบบคิดสร้างสรรค์อย่างมีวิจารณญาณ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้สูงอายุ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในกระบวนการดูแลผู้สูงอายุ (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมเน้นคุณธรรมความปลอดภัย ภายใต้กฎหมายและจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ (4) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มี ความเอื้ออาทร และมีปิยวาจา (5) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถ ให้การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม เน้นคุณธรรม ความปลอดภัยของผู้สูงอายุ ทุกภาวะสุขภาพ ภายใต้กฎหมายและจริยธรรมของการดูแลผู้สูงอายภายใต้การกำกับดูแลของ บุคลากรวิชาชีพทางด้านสุขภาพ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนดำเนินการจัดการเรียนการการสอน (2) จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี (3) จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ (4) ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน (5) ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานพยาบาล (6) นิเทศนักศึกษาในวิชาปฏิบัติ (7) ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานประกอบการ (8) กิจกรรมประเมินแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา (9) ประเมินหลักสูตร (10) ปัจฉิมและมอบหมายใบประกาศนียบัตร (11) กิจกรรมปฐมนิเทศ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการเตรียมความพร้อมเรื่องการจัดห้องปฏิบัติการก่อนเปิดหลักสูตร (2) ควรให้อาจารย์ในคณะที่ไม่ติดภารกิจสอนหลักสูตร ป.ตรี มีส่วนร่วมในการสอน (3) ควรวางเเผนวางระบบต่าง ๆ ให้มีความพร้อมเพื่อเปิดหลักสูตร เช่น หลักสูตรที่ปรับปรุงให้เหมาะสม (4) การสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรทั้งในระดับอาจารย์ บุคลากร ผู้บริหารของคณะ เเละมหาวิทยาลัย เป็นต้น (5) สามารถนำมาคิดภาระงานสอนได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนดำเนินการจัดการเรียนการการสอน
  2. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  3. จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ
  4. ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน
  5. ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานพยาบาล
  6. นิเทศนักศึกษาในวิชาปฏิบัติ
  7. ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานประกอบการ
  8. กิจกรรมประเมินแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา
  9. ประเมินหลักสูตร
  10. ปัจฉิมและมอบหมายใบประกาศนียบัตร
  11. กิจกรรมปฐมนิเทศ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี

วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาในหลักสูตรชี้แจ้งรายละเอียดรายวิชาแก้นักศึกษา
  2. ดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนที่วางไว้
  3. ดำเนินการสอบเพื่อวัดและประเมินผลความรู้ของนักศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้สูงอายุดี และสามารถเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ของผู้สูงอายุได้ดีประเมินได้จากการสังเกตเมื่อผู้เข้าอบรมปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ และการตอบคำถามของอาจารย์พี่เลี้ยง นอกจากนี้ยังเข้าใจและยอมรับในข้อจำกัดทางด้านร่างกายของผู้สูงอายุที่เกิดจากกระบวนการชราภาพ
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถติดตามเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุที่บ้านได้ ซึ่งจากการประเมินผู้ดูแลมีความสามารถในการประเมินปัญหา และประเมินความต้องการของผู้สูงอายุที่เป็นกรณีศึกษาของตนเองได้เป็นอย่างดี
  3. นักศึกษาสอบผ่านในรายวิชาทฤษฎี จำนวน 9 คน และลาออก 1 คน ระหว่างการจัดการเรียนการสอนเนื่องพ่อป่วยไม่มีคนดูแล

 

20 0

2. จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ

วันที่ 3 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง สามารถให้คำแนะในเรื่องการรับประทานอาหารและโภชนาการได้ ร่วมทั้งการแนะนำเรื่องการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะและสามารถจัดกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมการชะลอความเสื่อมของร่างกาย และวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะกับผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการดูแลสุขอนามัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
  3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะและสามารถคัดกรองผู้สูงอายุโดยใช้เครื่องมือ ADL, IADL, 2Q/9Q ได้อย่างถูกต้อง
  4. ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการทำกิจกรรมทางกาย การทำกายภาพบำบัดเบื้องต้น แก่ผู้สูงอายุ

 

10 0

3. ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. ผู้เข้าอบรมจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุการจัดกิจกรรมนันทนาการ
  3. ผู้เข้าอบรมสามารถส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้าน
  4. ผู้เข้าอบรมสามารถการประเมินภาวะสุขภาพ

 

10 0

4. ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานพยาบาล

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานพยาบาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ฝึกทักษะการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้สูงอายุในหอผู้ป่วยปกติ
  2. การจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ/การจัดกิจกรรมนันทนาการ
  3. วางแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวัน

 

10 0

5. นิเทศนักศึกษาในวิชาปฏิบัติ

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นิเทศนักศึกษาในวิชาปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อาจารย์ผู้รับผู้ชอบในรายวิชาปฏิบัติตามติดประเมินผลการปฏฺบัติงานของนักศึกษา

 

10 0

6. ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานประกอบการ

วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ฝึกทักษะการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้สูงอายุในหอผู้ป่วยปกติ
  2. การจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ/การจัดกิจกรรมนันทนาการ
  3. วางแผนการดูแลผู้ป่วยประจำวัน

 

10 0

7. กิจกรรมประเมินแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา

วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประเมินแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา
  2. ประเมินการจัดการเรียนการสอน
  3. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องประเมินนักศึกษา และการจัดการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ระดับความพึ่งพอใจของนักศึกษาต่อการจัดหลักสูตร

 

21 0

8. ประเมินหลักสูตร

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเพื่อถอดบทเรียนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ รุ่นที่ 1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แนวทางการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ

 

10 0

9. ปัจฉิมและมอบหมายใบประกาศนียบัตร

วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดพิธีมอบใบประกาศนียบัตรแก่ผู้ผ่านการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้ผ่านการอบรมจำนวน 9 คน

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 10
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านผู้สูงอายุและการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความคิดอย่างมีระบบคิดสร้างสรรค์อย่างมีวิจารณญาณ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลผู้สูงอายุ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ในกระบวนการดูแลผู้สูงอายุ (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถให้การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมเน้นคุณธรรมความปลอดภัย ภายใต้กฎหมายและจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ (4) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มี ความเอื้ออาทร และมีปิยวาจา (5) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถ ให้การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม เน้นคุณธรรม ความปลอดภัยของผู้สูงอายุ ทุกภาวะสุขภาพ ภายใต้กฎหมายและจริยธรรมของการดูแลผู้สูงอายภายใต้การกำกับดูแลของ บุคลากรวิชาชีพทางด้านสุขภาพ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนดำเนินการจัดการเรียนการการสอน (2) จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี (3) จัดการเรียนการสอนในห้องปฏิบัติการ (4) ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน (5) ฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานพยาบาล (6) นิเทศนักศึกษาในวิชาปฏิบัติ (7) ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติงานในวิชาปฏิบัติการช่วยเหลือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในสถานประกอบการ (8) กิจกรรมประเมินแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา (9) ประเมินหลักสูตร (10) ปัจฉิมและมอบหมายใบประกาศนียบัตร (11) กิจกรรมปฐมนิเทศ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการเตรียมความพร้อมเรื่องการจัดห้องปฏิบัติการก่อนเปิดหลักสูตร (2) ควรให้อาจารย์ในคณะที่ไม่ติดภารกิจสอนหลักสูตร ป.ตรี มีส่วนร่วมในการสอน (3) ควรวางเเผนวางระบบต่าง ๆ ให้มีความพร้อมเพื่อเปิดหลักสูตร เช่น หลักสูตรที่ปรับปรุงให้เหมาะสม (4) การสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรทั้งในระดับอาจารย์ บุคลากร ผู้บริหารของคณะ เเละมหาวิทยาลัย เป็นต้น (5) สามารถนำมาคิดภาระงานสอนได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ประกาศนียบัตรการดูแลผู้สูงอายุ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0056

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด