แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ | 5 พ.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
รายวิชาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม | 7 พ.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
วิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม | 5 มิ.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม | 9 ก.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ฝึกปฏิบัติงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม นิเทศ ประเมินผล และถอดบทเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ | 1 ส.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ | 5 พ.ค. 2565 | 5 พ.ค. 2565 |
|
ปฐมนิเทศนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ |
|
นักศึกษาเข้าใจหลักการและเหตุผลของการดำเนินการโครงการ |
|
ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก | 7 พ.ค. 2565 | 7 พ.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนและบรรยายในหัวข้อ ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก |
|
นักศึกษาเข้าใจระบบกลไกและสามารถแบ่งประเภทของหุ่นยนต์ได้ |
|
การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ | 8 พ.ค. 2565 | 8 พ.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนและบรรยาย ตำแหน่ง เฟรม การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ ของหุ่นยนต์ |
|
นักศึกษาเข้าใจการวางกรอบเฟรมพืนที่การทำงานของหุ่นยนต์ |
|
ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล | 14 พ.ค. 2565 | 14 พ.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ร่วมกับของจริงที่เกี่ยวข้องกับตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์ |
|
นักศึกษาเข้าใจหลีกการทำงานของตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม |
|
การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ | 15 พ.ค. 2565 | 15 พ.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฎิบัติในการวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกน |
|
นักศึกษาสามารถเขียน DH parameter ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้ นักศึกษาสามารถหาตำแหน่งการเคลื่อนที่แบบไปข้างหน้าของของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้ |
|
ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน | 28 พ.ค. 2565 | 28 พ.ค. 2565 |
|
ดำเนินการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ) |
|
นักศึกษาสามารถประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ) ได้ |
|
หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม | 5 มิ.ย. 2565 | 5 มิ.ย. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย |
|
นักศึกษาเข้าใจลักษณะการเขียนโปรแกรมสำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม |
|
ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์ | 11 มิ.ย. 2565 | 11 มิ.ย. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 |
|
นักศึกษาสามารถจัดการกับไฟล์สำหรับการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง สร้างโปรเจคไฟล์ใหม่ได้ เปิดไฟลเพื่อทำการแก้ไขโปรแกรมได้ ลบไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งานได้ บันทึกไฟล์ได้ |
|
การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง | 18 มิ.ย. 2565 | 18 มิ.ย. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยายและลงมือปฏิบัติการใช้คำสั่ง MOVE J MOVE L ในการควบคุมหุ่นยนต์ |
|
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE J สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้ นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE L สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้ |
|
การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400 | 25 มิ.ย. 2565 | 25 มิ.ย. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DO เพื่อสั่งงานเอาต์พุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DI เพื่ออ่านค่าอินพุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม |
|
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DO ในการสั่งงานตัวจับสญูญากาศในการเคลื่อนย้ายตำแหน่งได้ นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DI ร่วมกับคำสั่ง IF/ELSE ในการสั่งงานให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง |
|
ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 | 2 ก.ค. 2565 | 2 ก.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 การเขียนโปรแกรมควบคุมสเต็ปเปอร์มอเตอร์ |
|
นักศึกษาสามารถเขียนเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 ได้ นักศึกษาเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำในการควบคุมตัวขับเคลื่อนที่เป็นสเต็ปเปอร์มอเตอร์ เคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง |
|
ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 | 9 ก.ค. 2565 | 9 ก.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 |
|
นักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ teach and playback สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link นักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ ฺBlockly สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link |
|
ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ | 16 ก.ค. 2565 | 16 ก.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ |
|
นักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับโลหะ ที่มีเอาต์พุตชนิด PNP กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้ นักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับวัตถุ ที่มีเอาต์พุตชนิด NPN กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้ นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณไฟฟ้าสำหรับควบคุมการทำงานของตัวขับสเต็ปเปอร์มอเตอร์ได้ |
|
ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ | 23 ก.ค. 2565 | 23 ก.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ |
|
นักศึกษาสามารถต่อระบบนิวเมติกในการหยีบวัตถุ และเคลื่อนย้ายวัตถุได้ นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณทางไฟฟ้าในการสื่อสารกันระหว่างหุ่นยนต์อุตสาหกรรมกับระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็กได้ |
|
ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ | 30 ก.ค. 2565 | 30 ก.ค. 2565 |
|
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ |
|
นักศึกษาสามารถใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 ทำงานร่วมกับเครื่องจักรกลอัตโนมัติได้ |
|
ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา | 1 ส.ค. 2565 | 1 ส.ค. 2565 |
|
ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หรือหน่วยงานภาครัฐ |
|
นักศึกษาจำนวน 23 ได้เข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบ บริษัทอุดรมาสเตอร์เทค จำกัด และห้องปฏิบัตืการหุ่นยนต์เชื่อมอุตสาหกรรม |
|