directions_run

พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมรวม 11 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ธรรมชาติรอบตัว 25 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เทคนิคการสกัดสาร 25 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

วิทยาการคำนวณ 25 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมปฐมนิเทศสัมมนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และศึกษาดูงาน 25 มิ.ย. 2565 25 มิ.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1.การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.แนวปฏิบัติสำคัญของผู้เรียนในแต่ละชุดวิชา 3.การใช้ Canva ในการสร้างบทเรียนออนไลน์ 4.การจัดทำสื่อวีดีโอ Production house 5.การทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ของผู้เรียน ในการจะเข้ามาเรียนรู้ร่วมกัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนมีเครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2. เกิดความอยากเรียนรู้จนจบหลักสูตร มีเป้าหมายการเรียนรู้ที่ชัดเจน

 

การให้ความหมาย (คุณค่า) กับการเรียนรู้ 2 ก.ค. 2565 2 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. กิจกรรมแยกแยะความแตกต่างในการรับรู้แต่ละแบบ
2. การเรียนรู้ธรรมชาติโดยใช้กิจกรรมที่ส่งเสริมการรับรู้ที่ประกอบด้วยการให้ความหมายเชิงบวก 3. การสะท้อนผลจากการทำกิจกรรม 4. สรุปผลจากการทำกิจกรรม

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะการรับรู้แบบบริสุทธิ์กับการรับรู้ที่ประกอบกับประสบการณ์เดิมออกจากกันได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายถึงผลดีของการให้ความหมายเชิงบวกต่อการเรียนรู้ได้ 3. ผู้เข้าอบรมสามารถนำกิจกรรมส่งเสริมการให้ความหมายเชิงบวกไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ห้องเรียนของตนเองได้

 

การแปรรูปสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการทางการตลาด 2 ก.ค. 2565 2 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนวทางการทำ product concept จากสารสกัด และการตลาด 2 กิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างสรรค์ product concept จากสารสกัดที่ได้จากพืช

 

ผู้เรียนสามารถสร้าง Product concept จากสารสกัดที่จะเกิดขึ้นจากการเรียนในโมดูล

 

การวางแผนทางการเงิน การลงทุน และการคิดผลประโยชน์ในอนาคต 2 ก.ค. 2565 2 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำให้เห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน 2. วิธีการและปัจจัยในการวางแผนทางการเงิน การลงทุน 3. การคำนวณผลตอบแทนแบบต่าง ๆ 4. ทำกิจกรรมการวางแผนและการจัดการความเสี่ยง 5. ประเมินความเสี่ยงของแต่ละบุคคล 6. การแปลความของผลการประเมินความเสี่ยง

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จัก และเห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
2. เข้าใจวิธีการและปัจจัยในการวางแผนทางการเงิน การลงทุน 3. สามารถคำนวณผลตอบแทนแบบต่าง ๆ อย่างง่าย 4. สามารถประเมินความเสี่ยงของตนเองอย่างคร่าว ๆ ได้

 

ความละเอียดในการรับรู้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ผ่านช่องทางการรับรู้ต่าง ๆ 3 ก.ค. 2565 3 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มุ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพในการสังเกต 2. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติผ่านช่องทางการรับรู้ที่หลากหลาย

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถสังเกตลักษณะของธรรมชาติรอบตัวได้ละเอียดยิ่งขึ้น 2. ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับช่องทางการรับรู้ได้

 

สารสกัดและความปลอดภัยทางอาหาร 3 ก.ค. 2565 3 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทราบกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารและการใช้สารสกัดที่เหมาะสมตามที่กฎหมายกำหนด 2 ทราบวิธีสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้เลือกพืชที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ 3. กิจกรรมกลุ่มเลือกพืชที่ตนเองสนใจและสอดคล้องกับ product conceptที่วางไว้

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเลือกพืชที่ตนเองสนใจเพื่อใช้ในการเรียนตลอดโมดูลซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดและอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์

 

การลงทุนในหุ้น 3 ก.ค. 2565 3 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำการลงทุนในหุ้นขั้นต้น 2. ปัจจัยสำหรับการลงทุนในหุ้น 3. การพิจารณาแนวโน้มของหุ้น 4. ความเสี่ยงของการลงทุนในหุ้น 5. การวิเคราะห์ผลตอบแทนของหุ้น 6. จำลองการซื้อขายหุ้น

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจการลงทุนและปัจจัยของหุ้นเบื้องต้น 2. สามารถดูแนวโน้มของหุ้นและเลือกลงทุนในหุ้นที่สามารถรับได้ 3. สามารถวิเคราะห์ผลตอบแทนสำหรับการลงทุนให้หุ้นของตนเองได้อย่างคร่าว ๆ 4. สามารถซื้อขายหุ้นด้วยตนเอง

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 4 ก.ค. 2565 4 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 4 ก.ค. 2565 4 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 4 ก.ค. 2565 4 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

กรณีศึกษาปรากฏการณ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ 9 ก.ค. 2565 9 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ความรู้พื้นฐานของระบบธรรมชาติ จากการบรรยายในห้องเรียน 2. การเรียนรู้พื้นฐานการทำงานของระบบธรรมชาตินอกห้องเรียน ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายการทำงานของสิ่งมีชีวิตที่พบเห็นในพื้นที่ธรรมชาติได้

 

ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี 9 ก.ค. 2565 9 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายข้อควรระวังและความปลอดภัยในปฏิบัติการเคมี การใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมี 2 กิจกรรมกลุ่มทบทวนและฝึกปฏิบัติทักษะในการใช้อุปกรณ์-เครื่องแก้ว และสารเคมีได้อย่างถูกต้อง

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนสามารถใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมีได้อย่างถูกต้อง

 

การลงทุนในคริปโต 9 ก.ค. 2565 9 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำ   - สินทรัพย์ดิจิตอล (Cryptocurrency)   - การทำงานของ Blockchain   - การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
  - คำศัพท์ที่ควรรู้ในการลงทุน 2. ปัจจัยพื้นฐานของการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 3. ความเสี่ยงของการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 4. การเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอลต่าง ๆ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. สามารถบอกความเสี่ยงเบื้องต้นสำหรับการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 3. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอลเบื้องต้น

 

การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติแบบ active learning 10 ก.ค. 2565 10 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกปฏิบัติการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning 2. ทดลองใช้กระบวนการเรียนรู้ 3. สะท้อนผลการใช้กระบวนการเรียนรู้

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning
2. ผู้เข้าอบรมรับทราบข้อดีและจุดที่ควรพัฒนาของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านการทดลองใช้จริง

 

ความปลอดภัยและการตรวจสอบสารปนเปื้อน 10 ก.ค. 2565 10 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายวิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุด test kit อย่างง่ายตามหลักการของ thin layer chromatography
2.กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจสอบสารปนเปื้อนจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1.ทราบขั้นตอนการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้ 2. สามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้

 

นักลงทุนคริปโต 10 ก.ค. 2565 10 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ตัวอย่างการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. จำลองการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอล

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. สามารถซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอลในตลาดการลงทุน

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 11 ก.ค. 2565 11 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกกลุ่มเป้าหมายและการกำหนดวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 11 ก.ค. 2565 11 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 11 ก.ค. 2565 11 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

หลักที่ใช้ในการจัดจำแนกชนิดนกเบื้องต้น 23 ก.ค. 2565 23 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. หลักอนุกรมวิธานและลักษณะที่ใช้ในการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะนกออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของนกได้

 

การสกัดน้ำมันหอมระเหย 23 ก.ค. 2565 23 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้

 

การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 1 23 ก.ค. 2565 23 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2. ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged สำหรับวิทยาการคำนวณ 3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง
ทายใจตัวเลข

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้

 

การเตรียมความพร้อมในการศึกษานกในภาคสนาม 24 ก.ค. 2565 24 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. หลักในการจดบันทึกลักษณะที่จำเป็นสำหรับการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning 2. หลักในการระบุชื่อชนิดของนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning 3. การใช้อุปกรณ์ในการศึกษานกภาคสนาม

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกโดยใช้หนังสือคู่มือได้ 3. ผู้เข้าอบรมสามารถใช้อุปกรณ์ในการศึกษานกภาคสนามได้

 

การสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่ 24 ก.ค. 2565 24 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้น้ำมัน 3 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่จากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของน้ำมันที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2 24 ก.ค. 2565 24 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง หุ่นยนต์ของเรา 2. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ วิทยาการคำนวณ 3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ กำหนดการเชิงเส้น 4. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ กราฟของฟังก์ชัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ 2. สามารถนำกิจกรรมแบบ Unplugged ไปเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 25 ก.ค. 2565 25 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 25 ก.ค. 2565 25 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 25 ก.ค. 2565 25 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

การศึกษานกในเมือง และสรุปบทเรียน 6 ส.ค. 2565 6 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในเมือง (ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย)

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกเมืองได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกเมืองที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้

 

การสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว 6 ส.ค. 2565 6 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้ตัวทำละลายเดี่ยว 4 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายเดี่ยวจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “การเงินการลงทุน” 6 ส.ค. 2565 6 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel 2. การจัดเรียงข้อมูลสำหรับการการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณทางการเงินการลงทุน 3. การเลือกให้ฟังก์ชันให้ถูกต้องและเหมาะสม 4. วิธีการใช้สูตรและการเลือกข้อมูลในการคำนวณ 5. การตีความค่าต่าง ๆ ที่คำนวณได้
6. ฝึกปฏิบัติการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณค่าทางด้านการเงินการลงทุน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel
2. สามารถเลือกให้ฟังก์ชันและเลือกข้อมูลในการคำนวณได้ถูกต้องและเหมาะสม

  1. สามารถตีความค่าที่ได้จากการใช้ฟังก์ชันใน Microsoft Excel
  2. สามารถนำ Microsoft Excel ไปสร้างบทเรียนเรื่อง การเงินการลงทุน

 

การศึกษานกในพื้นที่ชุ่มน้ำ และสรุปบทเรียน 7 ส.ค. 2565 7 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ชุ่มน้ำ (พื้นที่ชุ่มน้ำวังบัวแดง ต.ปะโค อ.เมือง จ.หนองคาย)

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ชุ่มน้ำได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ชุ่มน้ำที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้

 

การสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟส 7 ส.ค. 2565 7 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสเปรียบเทียบกับการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายสองเฟสจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบผลการสกัดด้วยตัวทำละลายเฟสเดียวกับตัวทำละลายสองเฟสและเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน” 7 ส.ค. 2565 7 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้าน กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน ใน Microsoft Excel 2. การกรอกข้อมูลใน Microsoft Excel เพื่อใช้ในการคำนวณ 3. การเลือกข้อมูลตามเงื่อนไขต่าง ๆ ให้ถูกต้องและเหมาะสม เช่น ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 4. การอธิบานผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ 5. ฝึกปฏิบัติการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณค่าทางด้านกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชันใน Microsoft Excel
2. สามารถเลือกให้เลือกข้อมูลและกำหนดเงื่อนไขในการคำนวณได้ถูกต้องและเหมาะสม 3. สามารถประยุกต์ใช้ Microsoft Excel ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน 4. สามารถตีความค่าที่ได้จากการใช้ฟังก์ชันใน Microsoft Excel
5. สามารถนำ Microsoft Excel ไปสร้างบทเรียน ด้านกำหนดการเชิงเส้น และกราฟของฟังก์ชัน

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 8 ส.ค. 2565 8 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 8 ส.ค. 2565 8 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 8 ส.ค. 2565 8 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

การศึกษานกในพื้นที่ป่า และสรุปบทเรียน 20 ส.ค. 2565 20 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ป่า (พื้นที่ป่าภูพระบาท อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี)

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ป่าได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ป่าที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้

 

การสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ 20 ส.ค. 2565 20 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 1 20 ส.ค. 2565 20 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายภาพรวมและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI 2. แนะนำเมนูต่าง ๆ ในโปรแกรม Power BI 3. วิธีการโหลดข้อมูล สำหรับใช้โปรแกรม Power BI 4. การจัดการข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI
5. ฝึกปฏิบัติการจัดการข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมใช้

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จัก เข้าใจหลักการและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI 2. สามารถโหลดข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกมาใช้สำหรับโปรแกรม Power BI 3. สามารถจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ เพื่อพร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI

 

หลักการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้นและโครงสร้างของใบพืช 21 ส.ค. 2565 21 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. เรียนรู้หลักการในการจัดจำแนกพืช โดยการฝึกปฏิบัติผ่านกิจกรรม การจำแนกใบไม้
2. สรุปหลักการในการจำแนกพืช และลักษณะที่ใช้ในการจัดจำแนก 3. บรรยายหัวข้อ โครงสร้างของใบพืช และแนะนำแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม 4. การศึกษาลักษณะของใบพืชภาคสนาม (พื้นที่ป่าในวิทยาเขตหนองคาย)

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการในการจัดจำแนกพืช และสามารถกำหนดเกณฑ์ในการจำแนกได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถบอกโครงสร้างของใบพืชได้
3. ผู้เข้าอบรมทราบแหล่งศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองในภายหลัง 4. ผู้เข้าอบรมสามารถบอกความแตกต่างของใบพืชแต่ละชนิดได้

 

การสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่เสียงความถี่สูง 21 ส.ค. 2565 21 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูง และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 2 21 ส.ค. 2565 21 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2. การเลือกข้อมูลในการในการนำเสนอด้วยโปรแกรม Power BI
3. ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และการนำเสนอด้วยโปรแกรม Power BI จากกรณีศึกษา

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2. สามารถใช้โปรแกรม Power BI ในการนำเสนอข้อมูล 3. สามารถนำโปรแกรม Power BI ไปประยุกต์กับงานด้านอื่น ๆ ได้

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 22 ส.ค. 2565 22 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 22 ส.ค. 2565 22 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 22 ส.ค. 2565 22 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของพืช : โครงสร้างของดอก 27 ส.ค. 2565 27 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกปฏิบัติการศึกษาโครงสร้างของดอกผ่านกิจกรรม ชวนชมดอกไม้
2. บรรยายหัวข้อ โครงสร้างของดอก และแนะนำแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม 3. ฝึกปฏิบัติการจำแนกประเภทของดอกและศึกษาลักษณะดอกของพืชภาคสนาม

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการศึกษาโครงสร้างของดอกและบอกความแตกต่างของดอกของพืชแต่ละชนิดที่นำมาศึกษาได้ 2. ผู้เข้าอบรมบอกโครงสร้างพื้นฐานของดอก ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียได้ 3. ผู้เข้าอบรมบอกความแตกต่างระหว่างดอกเดี่ยวและดอกช่อได้
4. ผู้เข้าอบรมสามารถหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองได้

 

การทดสอบพฤษเคมีเบื้องต้น 27 ส.ค. 2565 27 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายวิธีการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุด test kit อย่างง่าย
2.กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้โปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อและวิเคราะห์ข้อมูลหุ้น 27 ส.ค. 2565 27 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น
2. การโปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อข้อมูลหุ้นจากแหล่งข้อมูลภายนอก 3. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในวิเคราะห์หุ้น

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์หุ้น เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการตัดสินใจ

 

การศึกษาลักษณะพรรณไม้ระดับวงศ์ ภาคสนาม 28 ส.ค. 2565 28 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาลักษณะประจำวงศ์ของพืช ในรูปแบบบรรยายพร้อมปฏิบัติการในภาคสนาม 2. ปฏิบัติการศึกษาลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพืชที่จัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมได้ใช้ความละเอียดในการสังเกตลักษณะที่แตกต่างกันของพืชแต่ละกลุ่ม
2. ผู้เข้าอบรมบอกลักษณะสำคัญของพืชวงศ์ที่พบบ่อย ได้แก่ วงศ์ทานตะวัน วงศ์ถั่ว และวงศ์ยางได้

 

เทคนิคการตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟี 28 ส.ค. 2565 28 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายขั้นตอนการเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสารสำคัญ 2.บรรยายขั้นตอนการแยกสารด้วยคอลัมน์ที่เตรียมได้ 3. บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบสารสำคัญด้วยโครมาโทกราฟี แบบ thin layer chromatography
4. กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสาร และการแยกสารสำคัญที่ได้จากการสกัดพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ รวมทั้งตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนและลงมือเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสาร และการแยกสารสำคัญที่ได้จากการสกัดพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
2 ผู้เรียนทราบขั้นตอนและลงมือตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography 3. ผู้เรียนสามารถอธิบายและเปรียบเทียบผลการตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography

 

การโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น 28 ส.ค. 2565 28 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python
2. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการสร้างชุดข้อมูลแบบต่าง ๆ และวิธีการดึงข้อมูลจากแหล่งอื่น ๆ เช่น EXCEL 3. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น เช่น การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานแบบต่าง ๆ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python
2. สามารถใช้โปรแกรม Python ในการสร้างชุดข้อมูล และสามารถดึงข้อมูลจากแหล่างอื่น ๆ ได้ 3. สามารถใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น 4. นำโปรแกรม Python ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการทำโครงงาน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียน

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 29 ส.ค. 2565 29 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”

 

  1. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัว

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 29 ส.ค. 2565 29 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”

 

  1. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสาร

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 29 ส.ค. 2565 29 ส.ค. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”

 

  1. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณ

 

รูปวิธานและการระบุพืช 3 ก.ย. 2565 3 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกทักษะการระบุพืชอย่างง่ายจากฐานข้อมูลและเอกสารวิชาการ 2. ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง โครงสร้างของรูปวิธาน
3. ฝึกปฏิบัติการระบุพืชโดยใช้รูปวิธานระบุพืชระดับวงศ์ และสกุล

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพืชที่สนใจได้ และทราบถึงปัญหาในการระบุพืช 2. ผู้เข้าอบรมสามารถใช้รูปวิธานได้อย่างถูกต้อง
3. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุพืชในระดับวงศ์โดยใช้รูปวิธานได้

 

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1 3 ก.ย. 2565 3 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบโลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติเตรียมตัวอย่างพืชและสารสกัดเพื่อใช้ตรวจสอบปริมาณโลหะหนัก และลงมือปฏิบัติได้

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการเตรียมตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิเคราะห์โลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy 2. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณโลหะหนักจากพืชตัวอย่างและพืชที่ตนเองสนใจได้

 

การใช้โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น 3 ก.ย. 2565 3 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ
2. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น เช่น สร้างกราฟของระบบสมการ หาจุดตัดของเสมการ 2 สมการ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น

 

การระบุพืชจากตัวอย่างในภาคสนาม 4 ก.ย. 2565 4 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกปฏิบัติการระบุพืชจากตัวอย่างพืชที่สนใจ

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุพืชที่สนใจได้ถูกต้อง

 

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2 4 ก.ย. 2565 4 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญได้แก่ สารประกอบฟีนอลและฟลาโวนอยด์ในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญจากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy
2. ผู้เรียนสามารถคำนวณผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณสารสำคัญจากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจ

 

โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ 4 ก.ย. 2565 4 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ เช่น หาสร้างกราฟแบบต่าง ๆ ลักษณะของกราฟเมื่อค่าต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. เข้าใจเรื่องฟังก์ชันของกราฟมากขึ้น จากการใช้โปรแกรม Scilab
2. นำโปรแกรม Scilab  ไปสร้างบทเรียนเรื่อง ฟังก์ชันของกราฟ

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 5 ก.ย. 2565 5 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง”

 

1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 5 ก.ย. 2565 5 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง”

 

1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง

 

ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 5 ก.ย. 2565 5 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง”

 

1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง

 

ออกแบบบทเรียนธรรมชาติที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ active learning 10 ก.ย. 2565 10 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ผู้เข้าอบรมวางแผนบทเรียนที่สอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ผู้เข้าอบรมนำเสนอแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 3. ผู้เข้าอบรมและวิทยากรร่วมกันพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้และให้ข้อเสนอแนะ 4. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนบทเรียนธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ได้รับฟังข้อเสนอแนะและนำไปปรับแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้

 

การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ 10 ก.ย. 2565 10 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy
2. ผู้เรียนสามารถคำนวณผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH จากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจ

 

การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1 10 ก.ย. 2565 10 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. โครงสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปในรูปแบบออนไลน์ของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) 2. การใช้งานเบื้องต้นโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM)

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจการทำงานของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) 2. สามารถใช้งานโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) เบื้องต้นได้

 

ทดลองใช้บทเรียนธรรมชาติและสะท้อนผลเพื่อพัฒนา 11 ก.ย. 2565 11 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเองได้ 2. ผู้เข้าอบรมได้รับฟังเสียงสะท้อนการจัดกิจกรรมจากวิทยากรและผู้ร่วมอบรมท่านอื่น ๆ และสามารถนำไปปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ครั้งถัดไปให้ดีขึ้นได้

 

การประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ 11 ก.ย. 2565 11 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายขั้นตอนการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เจลล้างหน้า แฮร์โทนิก และเจลลี่เพื่อสุขภาพ 2. กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ ด้วยสารสกัดที่ได้จากการเรียน

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบขั้นตอนการเตรียมผลิตภัณฑ์ 2. ผลิตภัณฑ์จากสารสกัด ได้แก่ เจลล้างหน้าผสมสารสกัดดาวเรืองและสารสกัดข้าวหอมมะลิดำ แฮร์โทนิกผสมสารสกัดจากใบหมี่และอัญชัน และเจลลี่เพื่อสุขภาพผสมสารสกัดจากดาวเรืองและกระชายขาว

 

การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2 11 ก.ย. 2565 11 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม เช่น การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์

 

ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้ได้ 2. นำโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการตัดเกรดนักเรียน การทำโครงงาน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียน

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ

 

การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง

 

กิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC และนำเสนอผลการเรียนรู้ 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

  1. ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้และนำเสนอแผนของแต่ละคนในแต่ละโมดูล
  2. ถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ (นักเรียน/นักท่องเที่ยว/เพื่อนร่วมงาน)
  3. ประชุมชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ร่วมกับสถานประกอบการ
  4. สะท้อนผลการเรียนรู้ (Self Reflection) ของผู้เข้าอบรมภายในโมดูล และระหว่างโมดูล
  5. ศึกษาดูงานโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ต่างสถาบัน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายร่วมกัน

 

  1. การออกแบบบทเรียนที่เน้นการลงมือปฏิบัติจริง
  2. สรุปผลการประชุมชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
  3. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากสถานประกอบการต่อคุณภาพบัณฑิต