directions_run

ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในผู้สูงอายุ 26 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศ บรรยายพิเศษ หัวข้อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ 26 มิ.ย. 2565 26 มิ.ย. 2565

 

  1. ผู้จัดทำหลักสูตรประชุมหารือวางแผน
  2. ประสานงานกับวิทยากร

 

หัวข้อ "การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ"

 

การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย 1 ก.ค. 2565 1 ก.ค. 2565

 

จัดการเรียนการเรียนการสอนภาคทฤษฏีประกอบการฝึกปฏิบัติเสมือนจริงในวันจันทรํ - วันศุกร์ เวลา 17.00-20.00 ณ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ โดยในการกระบวนการจัดการเรียนการสอนผู้เข้ารับการอบรมต้องเข้ารับฟังการบรรยายประกอบการฝึกเสมือนจริงดังเนื้อเรื่องที่ต้องศึกษา

 

ผลผลิต (Output) 1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ 2. จัดการเรียนการสอนผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลลัพย์ (Outcome) 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้     - ผู้เข้ารับการอบรมผู้เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุได้     - ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Barthel  Activities of Daily Living : ADL)
    - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถคัดกรองอาการสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดรายการอาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุตามคำแนะของผู้จัดการดูแลสุขภาพ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินการเจ็บป่วยในภาวะฉุกเฉินของผู้สูงอายุโดยใช้หลัก FAST ได้     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติในการใช้ยาในโรคที่ผู้สูงอายุเจ็บป่วยตามคำสั่งของแพทย์ได้     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดอารยสถาปัตย์สำหรับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล     - ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการใช้้อุปกรณ์ และเครื่องมือเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน   - ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยดำเนินงานสอดคล้องกับเป้าหมายแผนการดูแลสุขภาพ   - ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติและจริยธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุและมีความตระหนัก มีทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีในการปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุ

 

การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ 1 ก.ค. 2565 1 ก.ค. 2565

 

ผู้เข้ารับการอบรมเข้าเรียนภาคปฏิบัติที่สถานประกอบการนิมป์ แคร์ โฮม (ศูนย์การดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง) อำเภอบ้านใหม่ จังหวัดปทุมธานี โดยเข้าเรียนฝึกปฏิบัติในวันเสาร์ - วันอาทิตย์ โดยแบ่งหัวข้อการฝึกปฏิบัติตามคู่มือฝึกปฏิบัติงาน

 

ผลผลิต (output) PlO 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้ PlO 2. ผู้เรียนมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ PlO 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลลัพธ์ (Outcome) PlO 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้     SPLO1. อธิบายเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุได้     SPLO2. อธิบายหลักการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ     SPLO3. ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Barthel  Activities of Daily Living : ADL) ได้     SPLO4. คัดกรองอาการสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข     SPLO5. อธิบายการจัดรายการอาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุตามคำแนะของผู้จัดการดูแลสุขภาพ     SPLO6. ประเมินการเจ็บป่วยในภาวะฉุกเฉินของผู้สูงอายุโดยใช้หลัก FAST ได้     SPLO7. อธิบายแนวทางปฏิบัติในการใช้ยาในโรคที่ผู้สูงอายุเจ็บป่วยตามคำสั่งของแพทย์ได้     SPLO8. อธิบายเกี่ยวกับการจัดอารยสถาปัตย์สำหรับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ ประเมินผลลัพย์การเรียนรู้     1. ความรู้เกี่ยวกับการคัดกรอง ประเมิน และวิเคราะห์ภาวะสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครอบคลุมและเป็นองค์รวม รวมถึงใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ การคัดกรอง ประเมินสุขภาพ  ผู้เรียนได้คะแนนสอบและทำแบบฝึกหัดท้ายบทมากกว่าร้อยละ 60     2. ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ ควบคุมโรคให้แก่ผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวม ผู้เรียนได้คะแนนการสอบและการทำแบบฝึกหัดท้ายบทไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
PlO 2. ผู้เรียนมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ     SPLO9. มีความรู้ความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน     SPLO10. มีทักษะการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีผลลัพธ์ของการดำเนินงานสอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการดูแลสุขภาพ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้     1. ความสามารถในการคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง โดยใช้แบบประเมินการฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนต้องมีชั่วโมงการฝึกปฏิบัติในสถานที่จริง ร้อยละ 80 และมีคะแนนการฝึกปฏิบัติไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80     2. ผู้เรียนต้องมีจำนวนครั้งของการฝึกทักษะครบตามที่หลักสูตรกำหนด  (ร้อยละ 80)     3. วัดความสามารถในการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ ควบคุมโรคให้แก่ผู้สูงอายุได้ โดยใช้แบบประเมินการฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติทั้งในห้องปฏิบัติการและการฝึกในสถานที่จริง ร้อยละ 80 และมีคะแนนการฝึกปฏิบัติไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80     4. วัดทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น คะแนนการฝึกทักษะไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
    5. ผู้เรียนต้องมีจำนวนครั้งของการฝึกทักษะครบตามที่หลักสูตรกำหนด  (ร้อยละ 80) 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
    SPLO11. มีเจตคติและจริยธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุและมีความตระหนัก มีทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีในการปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้   1. การตรงต่อเวลาในการเข้าฝึกปฏิบัติและรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยการสังเกตพฤติกรรม   2. การดูแลผู้สูงอายุอย่างเอาใจใส่ มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่ต้องร้องขอ ด้วยความสุภาพอ่อนโยน โดยใช้แบบประเมินตนเอง แบบประเมินโดยผู้อื่น
  3. มีเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรม
  4. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรม