แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
กิจกรรมการรับสมัครผู้เข้าอบรม | 14 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าอบรม | 22 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การแนะนำการจัดหลักสูตร | 28 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การจัดการเรียนวิชาพื้นฐานวิชาชีพผ่านระบบ online | 28 ก.ย. 2565 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ | 3 ธ.ค. 2565 |
|
|
|
|
|
|
การทดสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ | 9 ม.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์ | 26 ม.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
การฝึกภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการ | 11 ก.พ. 2566 |
|
|
|
|
|
|
การติดตามและประเมินผู้เรียน | 1 มี.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
ปัจฉิมนิเทศน์ผู้เรียน | 8 เม.ย. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 5 ส.ค. 2566 | 5 ส.ค. 2566 |
|
การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- การจดทะเบียนผู้ประกอบการ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ | 16 ก.ย. 2566 | 16 ก.ย. 2566 |
|
การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ณ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันต์ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
การรับสมัครผู้เข้าอบรม | 15 ก.ย. 2565 | 15 ก.ย. 2565 |
|
การประกาศรับสมัครผู้เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์ |
|
การได้รับจำนวนผู้เข้าอบรมและดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าอบรมที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร ดังต่อไปนี้ 1.นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. 2.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 3.ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 4.ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม |
|
การประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อการสอบสัมภาษณ์ | 22 ก.ย. 2565 | 22 ก.ย. 2565 |
|
ขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการ 1. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์ 2. ทีมผู้ดำเนินงานดำเนินการติดต่อทางโทรศัพย์หาผู้ที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ 3. ดำเนินการสอบสัมภาษณ์โดยทีมคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยคัดเลือกคุณสมบัติตามที่ระบบไว้ในแบบเสนอหลักสูตร 3.1 นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. 3.2 ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 3.3 ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 3.4 ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม และมีการกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมโดยผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์จะต้องนำส่งภาพพื้นที่ดินที่ต้องการจะพัฒนาและแผนการดำเนินการทำธุรกิจลานกางเต็นท์ 3.5 ประกาศรายชื่อผู้มีผ่านการสอบสัมภาษณ์และประกาศยืนยันสิทธิ์ผ่านระบบ email ภายในวันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 9.00-17.00 น. |
|
รายชื่อผู้เข้าอบรมที่ยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้าอบรมหลักสูตร "ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)" จำนวน 44 คน |
|
การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน | 6 ต.ค. 2565 | 6 ต.ค. 2565 |
|
การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน |
|
ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรม |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์ | 7 ต.ค. 2565 | 7 ต.ค. 2565 |
|
Module 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 2: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 3: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 4: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 5: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 6: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Module 7: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 8: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการแนะนำการจัดหลักสูตร | 2 ธ.ค. 2565 | 2 ธ.ค. 2565 |
|
การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ผ่านระบบ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ |
|
ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
1. ผู้เข้าอบรมต้องเข้าเรียนออนไลน์และการทบทวนการเรียนผ่านช่องทาง onlinecourse.dusit.ac.th เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง มิฉะนั้นระบบอาจจะไม่บันทึกเวลารับชม
2. ผู้เข้าอบรมต้องมีผลการ Log in เข้าอบรมทุกหัวข้อการอบรมไม่น้อยกว่า 80% และต้องอบรมภาคปฎิบัติทั้งรูปแบบ online หรือ รูปแบบ onsite จึงจะผ่านการอบรม และได้รับวุฒิบัตรการอบรม (e-certificate) |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ | 3 ธ.ค. 2565 | 3 ธ.ค. 2565 |
|
Module 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ รูปแบบการเรียนการสอน: การเรียนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์ช่องทาง Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: การสร้างสื่อ 2D Animation จาก Templates สำเร็จรูป เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.2: การสร้างกราฟิก ภาพประกอบ และโปสเตอร์ ด้วยสมาร์ทโฟนเพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.3: การสร้างโลกเสมือนจริง (Metaverse) เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep 4: การสร้าง 3D Animation เพื่อประชาสัมพันธ์ ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน |
|
Module 1: เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็น)ท์ | 3 ธ.ค. 2565 | 3 ธ.ค. 2565 |
|
เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
Module 2: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ | 4 ธ.ค. 2565 | 4 ธ.ค. 2565 |
|
ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ - หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ - การจดทะเบียนผู้ประกอบการ การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO1.1: อธิบายความรู้และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับธุรกิจลานกางเต็นท์ ได้แก่ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์ การเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี กลยุทธ์การตลาดออนไลน์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ และความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ | 9 ธ.ค. 2565 | 9 ธ.ค. 2565 |
|
ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.1: Vocabularies คำศัพท์เกี่ยวกับลานกางเต็นท์ Ep 2: Reservations Conversation of campground business บทสนทนาเกี่ยวกับการจองลานกางเต็นท์ Ep.3: Welcoming Guests การต้อนรับลูกค้า Ep 4: Characters and Personalities in Service Industry บุคลิกภาพและคุณลักษณะของผู้ให้บริการ Ep 5: Handling Situations การจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ Ep 6: Frequently Asked Questions คำถามที่พบบ่อย |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการและผู้ปฏิบัติงานธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) | 10 ธ.ค. 2565 | 10 ธ.ค. 2565 |
|
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine |
|
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine | 10 ธ.ค. 2565 | 10 ธ.ค. 2565 |
|
กิจกรรมการทดสอบทักษะภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy): การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine ทีมผู้ทดสอบภาคปฎิบัติ: - อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ - อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์ และทีมวิทยากรจากสถานประกอบการร้าน Le Paris -นายคมกฤษ จันวิมล -นายสุพจน์ สุขเลิศ |
|
ผู้เรียนสามารถ: |
|
Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) | 11 ธ.ค. 2565 | 11 ธ.ค. 2565 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine |
|
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) | 12 ธ.ค. 2565 | 12 ธ.ค. 2565 |
|
กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine |
|
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ | 15 ธ.ค. 2565 | 15 ธ.ค. 2565 |
|
ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.2: แนวคิดและหลักการการดำเนินงานธุรกิจเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 3: เทคนิคการเข้าถึงใจลูกค้าของผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 4: กฎหมายและระเบียบสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 5: บัญชีและภาษีสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep 6: การบริหารจัดการบุคลากรสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากร: |
|
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์เพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม |
|
Module 4: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ | 17 ธ.ค. 2565 | 17 ธ.ค. 2565 |
|
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ณ ห้องกุมาริกา โรงแรมสวนดุสิตเพลส มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร |
|
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
Module 5: ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว | 18 ธ.ค. 2565 | 18 ธ.ค. 2565 |
|
ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว - การดูสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง/ การหลงป่า/ น้ำป่า |
|
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 2 ออกแบบผลผลิตการออกแบบการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 3 สื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ | 21 ธ.ค. 2565 | 21 ธ.ค. 2565 |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.1: กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฎิบัติสำหรับธุรกิจที่พักประเภทลานกางเต็นท์ Ep.2: คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.3: การเลือกพื้นที่และการปรับพื้นที่สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.4: การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว Ep.5: การบริหารจัดพล้งงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.6: การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
Module 6: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) | 24 ธ.ค. 2565 | 24 ธ.ค. 2565 |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
|
Module 7: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) | 25 ธ.ค. 2565 | 25 ธ.ค. 2565 |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ | 27 ธ.ค. 2565 | 27 ธ.ค. 2565 |
|
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.1: ความหมายและหลักการการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.2: การสื่อความหมายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 3: หลักการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 4: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 6: ตัวอย่างการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในประเทศและต่างประเทศ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ | 6 ม.ค. 2566 | 6 ม.ค. 2566 |
|
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.1: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.2: การวิเคราะห์กลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม Ep 3: การวิเคราะห์บริบทพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม Ep 4: กฎหมายและข้อปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับการจัดนำเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 6: ตัวอย่างเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) | 7 ม.ค. 2566 | 7 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
|
Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) | 8 ม.ค. 2566 | 8 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
|
การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ | 9 ม.ค. 2566 | 9 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
ผู้เรียนต้องผ่านการทดสอบทักษะและความรู้ด้านการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ | 12 ม.ค. 2566 | 12 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.1: ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม Ep.2: การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep 3: อาหารเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์กับวัตถุท้องถิ่น Ep 4: หลักการคัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อชูความเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep 5: การเพิ่มมูลค่าธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของประเทศไทยที่เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารที่ยั่งยืน Ep 6: ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นที่นำมาแปรรูปจนเป็นอัตลักษณ์ของอาหารของธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
|
Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) | 14 ม.ค. 2566 | 14 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์: การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ทีมวิทยากรภายในและทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ - อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ - คุณณัจยา เมฆราวี - คุณจารุณี วิเทศ - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม |
|
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์โดยใช้การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) จากวัตถุดิบที่มีในชุมชน |
|
Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) | 15 ม.ค. 2566 | 15 ม.ค. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว | 18 ม.ค. 2566 | 18 ม.ค. 2566 |
|
ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
SPLO 3: สามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวตามตามมาตรฐานของกรมการท่องเที่ยวและสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย (สทอ) หรือ TEATA ความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้ CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการปฏิบัติงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้ |
|
Module 10: สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ | 21 ม.ค. 2566 | 21 ม.ค. 2566 |
|
สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากรภายใน
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ
- ดร.สรร รัตนสัญญา |
|
สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (ระบบการจองที่พักและ Chat Bot) การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน |
|
การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์ | 26 ม.ค. 2566 | 26 ม.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ประชุมและสำรวจพื้นที่กับสถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน |
|
สถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน |
|
Module 11: เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ | 4 ก.พ. 2566 | 4 ก.พ. 2566 |
|
เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - Digital Marketing Activities - Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense) - Search Engine Optimization (SEO) |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ผู้เรียนมีทักษะด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพได้
เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Digital Marketing Activities
- Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense)
- Search Engine Optimization (SEO)
ทีมวิทยากร:
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ:
- ดร.สรร รัตนสัญญา |
|
การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์ | 11 ก.พ. 2566 | 11 ก.พ. 2566 |
|
การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์โดยฝึกปฎิบัติและดูพื้นที่จริงของผู้ประกอบการลานกางเต็นท์ กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์ แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
ผู้เรียนได้ศึกษาจากพื้นที่จริงสำหรับการจัดทำลานกางเต็นท์ในองค์ความรู้และทักษะดังนี้ กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์ แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
การลงพื้นที่ติดตามและประเมินผู้เรียน | 1 มี.ค. 2566 | 1 มี.ค. 2566 |
|
7.2 การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน |
|
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียน | 4 มี.ค. 2566 | 4 มี.ค. 2566 |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน |
|
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียน | 11 มี.ค. 2566 | 11 มี.ค. 2566 |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน |
|
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียน | 18 มี.ค. 2566 | 18 มี.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว พื้นที่จังหวัดสระบุรี |
|
ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนมาปรับพื้นที่ดิน การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในพื้นที่จังหวัดสระบุรี |
|
การติดตามและประเมินผู้เรียน | 25 มี.ค. 2566 | 25 มี.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล |
|
ณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล |
|
เสวนา How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์ | 8 เม.ย. 2566 | 8 เม.ย. 2566 |
|
การเสวนา “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์” |
|
ผลผลิตของผู้เรียนภายหลังจากการเรียนหลักสูตร โดยจะนำเสนอลานกางเต็นท์ที่ได้นำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนไปดำเนินการสร้างแค้มป์ “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์” |
|
ปัจฉิมนิเทศและพิธีมอบใบประกาศนียบัตร | 8 เม.ย. 2566 | 8 เม.ย. 2566 |
|
การสรุปการจัดการเรียนการสอนและการมอบใบประกาศนียบัตร |
|
ผู้สำเร็จการศึกษา |
|
กิจกรรมการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน | 1 ก.ค. 2566 | 1 ก.ค. 2566 |
|
การรับสมัครผู้เรียนผ่านระบบ Online |
|
การคัดเลือกผู้เรียนเพื่อให้มีคุณสมบัติดังนี้ 1.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 2. ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 3. ผู้ที่เป็นเจ้าขอหรือถือกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ต้องการพัฒนาให้เป็นลานกางเต็นท์ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 1 ส.ค. 2566 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมการปฐมนิเทศและการแนะนำระเบียบการเรียน | 5 ส.ค. 2566 | 5 ส.ค. 2566 |
|
การแนะนำหลักสูตร ทีมผู้จัดหลักสูตร กฎระเบียบการเข้าเรียน |
|
การเข้าใจและปฏิบัติตามกฎระเบียนของการเป็นผู้เรียน |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 6 ส.ค. 2566 | 6 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอน หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบ visual tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์) |
|
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการจัดการระบบ Visual tour สำหรับการนำภาพถ่ายไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์และการตลาดของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 12 ส.ค. 2566 | 12 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับที่พักประเภทลานกางเต็นท์ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 13 ส.ค. 2566 | 13 ส.ค. 2566 |
|
นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์) |
|
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลสมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการรับจองของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 14 ส.ค. 2566 | 14 ส.ค. 2566 |
|
นวัตกรรมสมาร์ทโฟนกับการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลด้านสมาร์ทโฟนเพื่อการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 19 ส.ค. 2566 | 19 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การจัดการภูมิสถาปัตยกรรม การวางผังบริเวณที่พักประเภทลานกางเต็นท์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 20 ส.ค. 2566 | 20 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟน กับกิจกรรม Digital Marketing) |
|
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลของระบบสมาร์ทโฟน เพื่อการทำกิจกรรม Digital Marketing สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 26 ส.ค. 2566 | 26 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (Espresso Machine and Mocca Pot) วิทยากรจากสถานประกอบการ - นายคมกฤษ จันวิมล - นายสุพจน์ สุขเลิศ วิทยากรภายใน - อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี | 27 ส.ค. 2566 | 27 ส.ค. 2566 |
|
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (เครื่องดื่ม Cocktail and Mocktail) |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 2 ก.ย. 2566 | 2 ก.ย. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว -ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 9 ก.ย. 2566 | 9 ก.ย. 2566 |
|
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว -ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 23 ก.ย. 2566 | 23 ก.ย. 2566 |
|
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การคำนวณคาร์บอนเคดิต) - การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - กิจกรรมการออกแบบลานกางเต็นท์จำลองบนพื้นที่จริง |
|
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
|
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ | 30 ก.ย. 2566 | 30 ก.ย. 2566 |
|
กิจกรรม: |
|
การเป็นผู้ประกอบการ A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์ |
|
กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ | 1 ต.ค. 2566 | 1 ต.ค. 2566 |
|
การรายงานผลการจัดหลักสูตรและการแจ้งการประเมินผู้เรียนรายบุคคล และการมอบใบประกาศนียบัตร |
|
ผู้เรียนทราบขั้นตอนการประเมินรายบุคคลและการแจ้งกระบวนการติดตามการทำลานกางเต็นท์รายบุคคล |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ธ.ค. 2566 | 1 ธ.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ติดตามและให้คำแนะนำในการออกแบบพื้นที่ลานกางเต็นท์ของผู้เรียนตามพื้นที่ตั้งของที่ดิน |
|
1.นางอุบลวรรณ สุขปลั่ง ชื่อลานกางเต็นท์ Love Tree Camp 2. นางลักขณา แสงทอง ชื่อลานกางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์ 3. นางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์ ชื่อลานกางเต็นท์ PP Garden Home |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ธ.ค. 2566 | 1 ธ.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่ที่ตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน ณ จังหวัดเพชรบุรี |
|
นางลักขณา แสงทอง พื้นที่กางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์ จังหวัดเพชรบุรี |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ธ.ค. 2566 | 1 ธ.ค. 2566 |
|
การลงพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อการติดตามการดำเนินงานการออกแบบพื้นที่เพื่อให้เป็นลานกางเต็นท์ |
|
ลานกางเต็นท์ของนางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์ |
|
การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน | 1 ธ.ค. 2566 | 1 ธ.ค. 2566 |
|
การให้คำแนะนำในกางวางแผนภูมิทัศน์การตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน |
|
ลานกางเต็นท์ของคุณจิตติมา นิลสมัย ณ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี |
|