directions_run

การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี


“ การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0153 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อยกระดับ (upskill) สมรรถนะทางวิชาชีพของครูให้มีทักษะในการผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาของตนเองได้ 2. เพื่อสร้างทักษะการปฏิบัติงานใหม่ (reskill) ให้แก่บุคลากรทางการศึกษา ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์แก่ผู้เรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. หลังเสร็จสิ้นการอบรม ผู้เรียนที่มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้มีเจตคติที่ดีต่อการผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการออกแบบและสร้างนวัตกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยผู้เรียนหลายคนให้ข้อมูลว่า มีความรู้สึกดีที่ได้ผลิตนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ตลอดจนการเข้ารับการนิเทศ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะออกแบบนวัตกรรม และมั่นใจในการสอนโดยใช้นวัตกรรมดังกล่าว เนื่องจากได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศอย่างใกล้ชิด
2. ผลการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ ตามที่ผู้เข้ารับการอบรมได้ให้ข้อมูลว่าเข้าใจการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ชัดเจนขึ้น และได้แนวทางในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลทั้งวิธีการสอนและวิธีการสร้างสื่อไปปรับใช้ในการเรียนการสอน เป็นผลลัพธ์อีกส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในโครงการ อันเป็นผลมาจากการให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ และการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดชั้นเรียนนวัตกรรมที่เน้นการพัฒนาและการใช้นวัตกรรมที่หลากหลายในการออกแบบวิธีการสอน ที่ได้ต้นแบบจากอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศได้ใช้นวัตกรรมในการให้ข้อเสนอแนะ และการฝึกให้ผู้เรียนเลือกนำนวัตกรรมไปใช้ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนของตน นอกจากนั้น ผู้เรียนยังได้ให้นักเรียนที่ตนเองรับผิดชอบสอนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนการสอนด้วย ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามหลักการของกระบวนการคิดออกแบบ อีกทั้งลักษณะการจัดการสอนก็เปลี่ยนไปโดยผู้เรียนจะเน้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดหรือการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่อาจารย์นิเทศ และผู้เรียนเข้าใจหลักการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้มากขึ้นจึงนำไปปรับใช้ให้เข้ากับนักเรียนและการทำงานของตนเองได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ผู้เรียนได้นำความรู้ ตลอดจนข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอนที่ได้จากโมดูลการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ไปปรับใช้ เพื่อใช้ทำความเข้าใจในความรู้ ความสามารถ และปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนของผู้เรียน อีกทั้งทำให้อาจารย์นิเทศได้รับทราบถึงข้อมูลมาปรึกษาหารือกันเพื่อให้คำแนะนำ กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจตนเอง สังเกตชั้นเรียน และออกแบบการเรียนการสอนให้เหมาะกับบริบทของชั้นเรียนตน คิดวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย และใช้นวัตกรรม และ/หรือใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียน อีกทั้งในภาคปฏิบัติการทำแผนการสอนกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อวางแผนการนิเทศร่วมกันก่อนให้คำแนะนำผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และรับการสังเกตการสอนและการนิเทศการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการอบรมของหลักสูตรนี้ ที่ออกแบบให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวคิดสำคัญของการคิดออกแบบ การสร้างนวัตกรรม และการจัดชั้นเรียนนวัตกรรม และการกำหนดให้อาจารย์นิเทศได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำงานด้วยกันระหว่างสัปดาห์ จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ตาม PLOs ที่กำหนดไว้ 3. การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรนี้มีความเข้มข้นในด้านเนื้อหาและกระบวนการ ผู้เข้าอบรมได้สะท้อนว่าการเรียนในหลักสูตรนี้ทำให้เจอคนที่หลากหลาย มีความต่างทางความคิดและประสบการณ์ ซึ่งทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เมื่อนำมาประกอบกับองค์ความรู้เชิงทฤษฎีทั้งในส่วนของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การออกแบบและสร้างนวัตกรรม การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลทำให้เห็นความยืดหยุ่นและการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในการเรียนการสอน เพื่อสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนในสถานศึกษาของตนเองได้เป็นอย่างดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ มีช่องทางที่สะดวกในการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลโครงการ เพื่อสอบถามถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    หลักสูตร “การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์” เป็นหลักสูตรประเภทประกาศนียบัตร (Non Degree) เทียบเท่า 9 หน่วยกิต ที่พัฒนาและจัดการเรียนการสอนในปีงบประมาณ 2565 ระหว่าง 4 มิถุนายน 2566 - 1 ธันวาคม 2566 เป็นเวลา 6 เดือนนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อยกระดับ (upskill) สมรรถนะทางวิชาชีพของครูให้มีทักษะในการผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาของตนเองได้ 2. เพื่อสร้างทักษะการปฏิบัติงานใหม่ (reskill) ให้แก่บุคลากรทางการศึกษา ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์แก่ผู้เรียน สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย 6 โมดูล แบ่งเป็นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 5 โมดูล และการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Experiential Learning) 1 โมดูล จัดการเรียนการสอนแบบ on the job training โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาคปฏิบัติซึ่งเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการ (Online และ Onsite Workshop) 127 ชั่วโมง 30 นาที และ เรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองทางออนไลน์ รวมจำนวน 106 ชั่วโมง และนำประเด็นที่เรียนรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานของตนเองในสถานศึกษาผู้เรียนในหลักสูตรรุ่นที่ 1 มีทั้งสิ้น 30 คนผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 20 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อยกระดับ (upskill) สมรรถนะทางวิชาชีพของครูให้มีทักษะในการผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาของตนเองได้ 2. เพื่อสร้างทักษะการปฏิบัติงานใหม่ (reskill) ให้แก่บุคลากรทางการศึกษา ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์แก่ผู้เรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ 1. หลังเสร็จสิ้นการอบรม ผู้เรียนที่มีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้มีเจตคติที่ดีต่อการผลิตนวัตกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการออกแบบและสร้างนวัตกรรมที่สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยผู้เรียนหลายคนให้ข้อมูลว่า มีความรู้สึกดีที่ได้ผลิตนวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ตลอดจนการเข้ารับการนิเทศ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะออกแบบนวัตกรรม และมั่นใจในการสอนโดยใช้นวัตกรรมดังกล่าว เนื่องจากได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศอย่างใกล้ชิด
    2. ผลการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ ตามที่ผู้เข้ารับการอบรมได้ให้ข้อมูลว่าเข้าใจการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ชัดเจนขึ้น และได้แนวทางในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลทั้งวิธีการสอนและวิธีการสร้างสื่อไปปรับใช้ในการเรียนการสอน เป็นผลลัพธ์อีกส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในโครงการ อันเป็นผลมาจากการให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ และการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนการจัดชั้นเรียนนวัตกรรมที่เน้นการพัฒนาและการใช้นวัตกรรมที่หลากหลายในการออกแบบวิธีการสอน ที่ได้ต้นแบบจากอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศได้ใช้นวัตกรรมในการให้ข้อเสนอแนะ และการฝึกให้ผู้เรียนเลือกนำนวัตกรรมไปใช้ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนของตน นอกจากนั้น ผู้เรียนยังได้ให้นักเรียนที่ตนเองรับผิดชอบสอนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนการสอนด้วย ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามหลักการของกระบวนการคิดออกแบบ อีกทั้งลักษณะการจัดการสอนก็เปลี่ยนไปโดยผู้เรียนจะเน้นและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมแสดงความคิดหรือการสร้างสรรค์ผลงานต่าง ๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่อาจารย์นิเทศ และผู้เรียนเข้าใจหลักการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้มากขึ้นจึงนำไปปรับใช้ให้เข้ากับนักเรียนและการทำงานของตนเองได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ผู้เรียนได้นำความรู้ ตลอดจนข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอนที่ได้จากโมดูลการบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ไปปรับใช้ เพื่อใช้ทำความเข้าใจในความรู้ ความสามารถ และปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนของผู้เรียน อีกทั้งทำให้อาจารย์นิเทศได้รับทราบถึงข้อมูลมาปรึกษาหารือกันเพื่อให้คำแนะนำ กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจตนเอง สังเกตชั้นเรียน และออกแบบการเรียนการสอนให้เหมาะกับบริบทของชั้นเรียนตน คิดวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย และใช้นวัตกรรม และ/หรือใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียน อีกทั้งในภาคปฏิบัติการทำแผนการสอนกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อวางแผนการนิเทศร่วมกันก่อนให้คำแนะนำผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และรับการสังเกตการสอนและการนิเทศการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการอบรมของหลักสูตรนี้ ที่ออกแบบให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวคิดสำคัญของการคิดออกแบบ การสร้างนวัตกรรม และการจัดชั้นเรียนนวัตกรรม และการกำหนดให้อาจารย์นิเทศได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำงานด้วยกันระหว่างสัปดาห์ จึงทำให้เกิดผลลัพธ์ตาม PLOs ที่กำหนดไว้ 3. การจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรนี้มีความเข้มข้นในด้านเนื้อหาและกระบวนการ ผู้เข้าอบรมได้สะท้อนว่าการเรียนในหลักสูตรนี้ทำให้เจอคนที่หลากหลาย มีความต่างทางความคิดและประสบการณ์ ซึ่งทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เมื่อนำมาประกอบกับองค์ความรู้เชิงทฤษฎีทั้งในส่วนของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การออกแบบและสร้างนวัตกรรม การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลทำให้เห็นความยืดหยุ่นและการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในการเรียนการสอน เพื่อสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนในสถานศึกษาของตนเองได้เป็นอย่างดี

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ มีช่องทางที่สะดวกในการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลโครงการ เพื่อสอบถามถึงปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จังหวัด

    รหัสโครงการ FN65/0153

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด