directions_run

หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ


“ หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business) ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2022 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business)



บทคัดย่อ

โครงการ " หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2022 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 900,000.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืชสมุนไพร เรียนOnlineผ่าน Program Zoom meeting
  2. ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืชสมุนไพร
  3. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสรรพคุณสมุนไพรในท้องถิ่น
  4. งานวิจัยเกี่ยวกับการทดสอบหาสรรพคุณของสมุนไพรในท้องถิ่น
  5. สารสำคัญหรือแก่นยาประโยชน์ของสมุนไพร
  6. สังเคราะห์ข้อมูลและวิธีการทดลองเกี่ยวกับสารสำคัญหรือแก่นยาประโยชน์ของสมุนไพร
  7. ตัวอย่างงานวิจัย:การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร
  8. ศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัย:การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร
  9. แนวคิดทฤษฎีในการปฏิบัติการเพาะปลูกพืชสมุนไพรด้วยเทคนิค ต่าง ๆ
  10. เทคนิคต่าง ๆ และตรวจสอบมาตรฐานผลผลิต (การปลูก) พืชสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

แบบรายงานผลการดำเนินการหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) 1. รายละเอียดหลักสูตร 1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 1.2 ชื่อหลักสูตร หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ 1.3 รุ่นที่ 2    ระยะเวลาการดำเนินการ (ระบุช่วงเวลา) สิงหาคม ถึง กันยายน. 1.4 กลุ่มอุตสาหกรรม (ระบุได้เพียง 1 กลุ่มอุตสาหกรรม) สินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
1.5 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ชื่อ เบอร์โทรศัพท์ และ e-mail ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรธิดา ประสาร e-mail : ontida2554@gmail.com รองศาสตราจารย์ชานนท์ ไชยทองดี e-mail : Pronont@gmail.com
1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ⬜⬜⬜⬜ ⬜ Re-skill / Up-skill ⬜ New Skill ⬜ อื่นๆ                      ทักษะที่จำเป็นที่บรรจุไว้ในหลักสูตร 1) ปฏิบัติการทดลองรสยาสรรพคุณทางยา 2) ปฏิบัติการทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น 3) ปฏิบัติการทดลองสกัดสารสำคัญจากพืชและสมุนไพรในท้องถิ่น 4) การสัมภาษณ์ การทำแบบสอบถามในการสำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 5) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในการสำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 6) ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค อย่างน้อย 1 ชนิด 1.7 การวิเคราะห์ Skill mapping ของหลักสูตร 1) นักศึกษาที่เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนนำแนวคิดไปต่อยอดสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ในชุมชนที่เน้นเรื่องคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและใช้วัตถุดิบพืชสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน 2) นักศึกษาที่ประกอบอาชีพอื่นๆ อาชีพอิสระในการทำการเกษตรนำแนวคิดไปปรับปรุงผลผลิตและใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาในการศึกษาคุณภาพของวัตถุดิบทางการเกษตรที่ได้ผลิต และมหาวิทยาลัยดำเนินการโครงการเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องจึงมีการสะท้อนผลความต้องการพัฒนาสมรรถนะด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากเพื่อต่อยอดการสร้างธุรกิจบริการสุขภาพของชุมชน

  1. การจัดการเรียนการสอน 2.1 ผลการดำเนินการจัดการเรียนการสอน (โปรดระบุรายละเอียด อาทิ วันเวลาที่จัดการเรียนการสอน สถานที่จัดการเรียนการสอน เน้นการบรรยาย หรือลงมือปฏิบัติงานจริง เป็นต้น) ตารางการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
    การบรรยาย 60 ชั่วโมง ลงมือปฏิบัติ 225 ชั่วโมง เวลาเรียนทั้งสิ้น 285 ชั่วโมง มีรายละเอียดดังนี้

วัน/เดือน/ปี แนวทางการเรียน/สถานที่ หัวข้อ บรรยาย ปฏิบัติ 5 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/
ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ สรรพคุณของพืชสมุนไพร ชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสมุนไพร 6
6 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/ ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ การวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดที่สำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ 6
7 สิงหาคม 2566 ปฏิบัติ/ ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ รายงานนำเสนอชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรในท้องถิ่น โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลสรรพคุณของพืชสมุนไพร 6 8 สิงหาคม 2566 ศึกษาค้นคว้าอิสระ ประโยชน์จากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 6 12 สิงหาคม 2566 ปฏิบัติ/ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.ปฏิบัติการวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดที่สำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ 2.สาระสำคัญหรือแก่นยา 12 13 สิงหาคม 2566 ปฏิบัติ/ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.ปฏิบัติการวิเคราะห์สารสกัดที่สนใจ
2.นำเสนอผลการวิเคราะห์สารสกัดที่สนใจ 12 19 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ2.ปฏิกิริยาทางเคมีฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 6 6 20 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำ
2.การปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายในแอลกอฮอล์ 6 6 26 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำมัน
2.การปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำมัน 6 6 27 สิงหาคม 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4504 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การคัดเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 2.การคัดเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 6 6 2 กันยายน 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.รสยาสรรพคุณทางยา
2.ปฏิบัติการทดลองรสยาสรรพคุณ ทางยา 3.ปฏิบัติการทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น 6 12 3 กันยายน 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น
2.ประเมินความถูกต้องในการบอกรสยาและสรรพคุณทางยามีความถูกต้อง 3.ปฏิบัติประเมินความถูกต้องในการบอกรสยาและสรรพคุณทางยามีความถูกต้อง 12 6 9 กันยายน 2566 ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องประชุม 5203 คณะครุศาสตร์ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1.การเตรียมเครื่องยาโดยการ ประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ 2.ปฏิบัติการทดลองเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใช้ปรุงยาโดยการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ 6 6 10 กันยายน 2566 ปฏิบัติ 12 ชม./ คณะครุศาสตร์และทดลองด้วยตนเอง ปรึกษาที่ปรึกษา 12 ชม. ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4606 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค 24 11-15 กันยายน 2566 การศึกษาอิสระ ปฏิบัติการทดลองเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใช้ปรุงยาโดยการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ 18 16 กันยายน 2566 ปฏิบัติ 12 ชม./ คณะครุศาสตร์และทดลองด้วยตนเอง ปรึกษาที่ปรึกษา 12 ชม. ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4606 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค 24 17 กันยายน 2566 ปฏิบัติ 12 ชม./ คณะครุศาสตร์และทดลองด้วยตนเอง ปรึกษาที่ปรึกษา 12 ชม. ทฤษฎี/ปฏิบัติ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4606 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค 24 20-24 กันยายน 2566 ปฏิบัติ 12 ชม. ทดลองด้วยตนเอง ปรึกษาที่ปรึกษา 12 ชม. ชุมชนบ้านโพนค้อ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ สำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม
และช่องปาก 24 20-24 กันยายน 2566 ปฏิบัติ 8 ชม./ คณะครุศาสตร์และ ปรึกษาที่ปรึกษา 12 ชม. ชุมชนบ้านโพนค้อ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ห้องปฏิบัติการทดลอง 4606 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ประเมินจากรายงานนำเสนอความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 20 24 กันยายน 2566 นำเสนอผลงาน ห้องปฏิบัติการทดลอง 4606 คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ นำเสนอผลงานปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 7 รวมทั้งสิ้น 60 ชม. 225 ชม.























ภาพประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน























ภาพที่ 1 บรรยายกาศห้องเรียนทฤษฎีสรรพคุณทางยาของสมุนไพร การสกัดสาระสำคัญจากสมุนไพรในท้องถิ่น




















ภาพประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ภาพที่ 3 การสกัดน้ำมันจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นด้วยวิธีการบีบเย็นและร้อน


ภาพที่ 4 การสกัดด้วยวิธี Maceration และ Liquid Extraction


























ภาพที่ 4 การสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิธี Soxhlet extractor























ภาพที่ 5 การทำให้สารสกัดเข้มข้น Distillation in vacuum : Rotary Evaporator








ภาพที่ 6 ผลิตสบู่ผสมสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่นที่ได้จากปฏิกิริยา Saponificationของโซเดียมไฮดรอกไซด์











ภาพที่ 7 การทดลองทำสูตรและส่วนผสมโลชั่นบำรุงผิวผสมสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่น ภาพที่ 8 ประเมินผลและสะท้อนผลการปฏิบัติร่วมกัน














ภาพที่ 9 เรียนรู้สูตร ส่วนผสม และสารสกัดต่าง ๆ ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ สบู่เจล โลชั่นกันแดด และน้ำตบ


ภาพที่ 10 การผลิต Product Cleansing Mild เจลทำความสะอาดผิวหน้าสูตรอ่อนโยน





ภาพที่ 11 การผลิต Product Soothing Essence Cleansing Mild สูตรเนื้อบางเบา ให้ผิวชุ่มชื้น








ภาพที่ 12 การผลิต Product Hybrid Sunscreen Cream SPF 50/PA++++ ครีมกันแดดประสิทธิภาพสูง ป้องกัน UVA, UVB, IR

















ภาพที่ 13 สำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต
และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก ณ ชุมชนบ้านโพนค้อ








ภาพที่ 14 นำเสนอผลงานปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง จากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 2.2 วิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนที่สามารถแสดงให้เห็นถึงทักษะและสมรรถนะที่ผู้เรียนได้รับเพิ่มเติม เมื่อจบการศึกษาจากหลักสูตรว่าผู้เรียนสามารถทำอะไรได้ ทำอะไรเป็น - วิธีการวัดและประเมินผล 1. อธิบายสรรพคุณของพืสมุนไพร ส่งรายงานนำเสนอชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรในท้องถิ่น โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลสรรพคุณของพืช สมุนไพร นำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดที่สำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ สาระสำคัญหรือ แก่นยา ประโยชน์จากพืชสมุนไพร 1) ความถูกต้องของเนื้อหาในรายงานมีความถูกต้องร้อยละ 80 2) การอ้างอิงข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลได้ถูกต้องร้อยละ 80   3) ความน่าสนใจในการนำเสนอข้อมูลในระดับดี
2. วิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพปฏิกิริยาทางเคมีฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น ผลการปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายนำ สารละลายในแอลกอฮอล์ สารละลายน้ำมัน การคัดเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น การปฏิบัติมีความถูกต้องของขั้นตอนในการปฏิบัติ มีความถูกต้องร้อยละ 80
3.วิเคราะห์รสยาสรรพคุณทางยา ปฏิบัติการทดลองรสยาสรรพคุณทางยา และปฏิบัติการทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น การปฏิบัติมีความถูกต้องความถูกต้องในการบอกรสยาและสรรพคุณทางยา มีความถูกต้องร้อยละ 80 4. ระบุขั้นตอนการเตรียมเครื่องยาโดยการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ อธิบายการเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใช้ปรุงยาโดยการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ มีความถูกต้องบอกในการระบุ พูดอธิบายขั้นตอนในการปฏิบัติ มีความถูกต้องร้อยละ 80 5.สำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก รายงานนำเสนอการสำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 1) ความถูกต้องของเนื้อหาในรายงานมีความถูกต้องร้อยละ 80 2) การอ้างอิงข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลได้ถูกต้องร้อยละ 80         3) ความน่าสนใจในการนำเสนอข้อมูลในระดับดี     6.ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค อย่างน้อย 1 ชนิด

  - ทักษะและสมรรถนะที่ได้ 1. อธิบายสรรพคุณของพืสมุนไพร ระบุชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรในท้องถิ่น โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลสรรพคุณของพืช สมุนไพร นำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดที่สำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ สาระสำคัญ แก่นยา ประโยชน์จาก พืชสมุนไพร ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน หอมแดง ดอกดาวเรือง ว่านหางจระเข้ ใบบัวบก เปลือกเลมอน เปลือกมังคุด 2. วิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพปฏิกิริยาทางเคมีฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น การสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำ สารละลายในแอลกอฮอล์ สารละลายน้ำมัน ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน หอมแดง ดอกดาวเรือง ว่านหางจระเข้ ใบบัวบก เปลือกเลมอน เปลือกมังคุด     3. ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 3.1 การผลิตสบู่ผสมสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่นที่ได้จากปฏิกิริยา Saponificationของโซเดียมไฮดรอกไซด์ 3.2 การผลิต Product Dossage Form Process Solution/Essence 3.3 การผลิต Product Dossage Form Process Tonic/Toner 3.4 การผลิต Product Dossage Form Process เจลใส Cold Process 3.5 การผลิต Product Dossage Form Process Emugel เจลกึ่งครีม O/W Cold Process 3.6 การผลิต Product Dossage Form Process Emulsion O/W Cold Process 3.7 การผลิต Product Dossage Form Process Cleansing Base (Shampoo/Cleansing gel/Body bath gel) 3.8 การผลิต Product Soothing Essence Cleansing Mild สูตรเนื้อบางเบา ให้ผิวชุ่มชื้น 3.9 การผลิต Product Cleansing Mild เจลทำความสะอาดผิวหน้าสูตรอ่อนโยน 3.10 การผลิต Product Hybrid Sunscreen Cream SPF 50/PA++++ ครีมกันแดดประสิทธิภาพสูง ป้องกัน UVA, UVB, IR








2.3 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
ตารางที่ 1 ตารางประเมินประสิทธิภาพการดำเนินการจัดการเรียนรู้โดยนักศึกษาจำนวน 30 คน

รายการ
S.D. ระดับการประเมิน 1. ความรู้ที่ท่านมีก่อนการเรียนในหลักสูตรฯ 2.17 0.747 น้อย 2. ท่านได้รับชี้แจงจุดประสงค์ เนื้อหา การจัดกิจกรรม สื่อ แหล่งเรียนรู้ อย่างชัดเจน 4.40 0.498 มาก 3. การจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับความต้องการของท่าน 4.50 0.509 มาก 4. เนื้อหาสาระทันสมัย และสามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริง 4.57 0.504 มากที่สุด 5. เนื้อหาสาระช่วยพัฒนาทักษะการทำงาน หรือสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้ 4.70 0.466 มากที่สุด 6. ท่านมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ 4.63 0.490 มากที่สุด 7. ท่านได้ลงมือปฏิบัติและเชื่อมโยงสู่การนำไปใช้หรือการพัฒนาทักษะการทำงาน 4.53 0.571 มากที่สุด 8. ท่านได้รับการปรึกษาและชี้แนะเพิ่มเติมอย่างชัดเจน 4.50 0.572 มาก 9. การจัดการเรียนรู้ได้ให้ท่านศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ 4.37 0.669 มาก 10. กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย ส่งเสริมการผลิต และแปรรูปสมุนไพร 4.53 0.681 มากที่สุด 11. ท่านได้ทดลองใช้เครื่องมือที่ทันสมัย 4.33 0.711 มาก 12. มีการสะท้อนผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 4.43 0.728 มาก 13. ท่านมีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผล 4.50 0.630 มากที่สุด 14. ท่านได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างต่อเนื่อง 4.50 0.630 มากที่สุด 15. ท่านมีความสะดวกในการเดินทางไปทำกิจกรรมต่าง ๆ 4.50 0.630 มากที่สุด 16. สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้มีความเหมาะสม 4.57 0.626 มากที่สุด 17. สื่อและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนรู้มีจำนวนเพียงพอต่อการใช้งาน 4.67 0.479 มากที่สุด 18. ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู้เหมาะสมต่อการพัฒนาทักษะในการทำงาน 4.60 0.498 มากที่สุด 19. วิธีการประเมินผลหลากหลาย ทำแบบทดสอบ ปฏิบัติงาน ทำกิจกรรม 4.67 0.479 มากที่สุด 20. ท่านสามารถนำความรู้ไปใช้ได้จริงในอนาคต 4.63 0.490 มากที่สุด รวม 4.41 0.781 มาก จากตารางที่ 1 พบว่า ภาพรวมการประเมินประสิทธิภาพการดำเนินการจัดการเรียนรู้โดยอยู่ในระดับมาก
( =4.41, S.D.=0.781) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าก่อนการเรียนในหลักสูตรฯผู้เรียนมีความรู้ในระดับน้อย
( =2.17, S.D.=0.747) เนื้อหาสาระช่วยพัฒนาทักษะการทำงาน หรือสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้อยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.70, S.D.=0.466) สิ่งที่ควรปรับปรุง คือการทดลองใช้เครื่องมือที่ทันสมัยอยู่ในระดับมาก ( =4.33, S.D.=0.711)
2.4 แสดงผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้ระบุไว้ ตารางที่ 2 ตารางนำเสนอภาพรวมแสดงผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาจำนวน 30 คน

ผลลัพธ์การเรียนรู้ การปฏิบัติ / การประเมินตามสภาพจริง ผลสัมฤทธิ์ 1. อธิบายสรรพคุณของพืช สมุนไพร รายงานนำเสนอชื่อทางวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรในท้องถิ่น โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลสรรพคุณของพืช สมุนไพร นำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์ตัวอย่างสารสกัดที่สำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ สาระสำคัญหรือ แก่นยา ประโยชน์จากพืชสมุนไพร 1.รายงานมีความถูกต้องของเนื้อหาในรายงานมีความถูกต้องร้อยละ 80 2.รายงานมีการอ้างอิงข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลได้ถูกต้องร้อยละ 80 3.ความน่าสนใจในการนำเสนอข้อมูลในอยู่ในระดับดี 2. วิเคราะห์คุณสมบัติทาง กายภาพปฏิกิริยาทางเคมีฤทธิ์ของ สารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น ผลการปฏิบัติการสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายนำ สารละลายในแอลกอฮอล์ สารละลายน้ำมัน การคัดเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมจากพืชสมุนไพร ในท้องถิ่น 1.ขั้นตอนในการปฏิบัติมีความถูกต้องร้อยละ 80 2.ผลงานการสกัดสมุนไพร ด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำ สารละลายในแอลกอฮอล์
สารละลายน้ำมัน คือ ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน หอมแดง ดอกดาวเรือง ว่านหางจระเข้
ใบบัวบก เปลือกเลมอน เปลือกมังคุด 3.วิเคราะห์รสยาสรรพคุณทางยา อธิบาย ทดลอง รสยาสรรพคุณทางยา และปฏิบัติการทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น อธิบาย และบอกรสยาและสรรพคุณ ทางยาได้ถูกต้องถูกต้องร้อยละ 80 4.ปฏิบัติการเตรียมเครื่องยาโดยการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์ ปฏิบัติการทดลองเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใช้ปรุงยาโดยการประสะ สะตุ และ ฆ่าฤทธิ์ ปฏิบัติตามขั้นตอนได้ถูกต้องร้อยละ 80 5.สำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก รายงานนำเสนอความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 1.รายงานมีความถูกต้องของเนื้อหา ร้อยละ 80 2.มีการอ้างอิงข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลได้ถูกต้องร้อยละ 80 3.ความน่าสนใจในการนำเสนอข้อมูล อยู่ในระดับดี 6.ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค อย่างน้อย 1 ชนิด ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่น 1.การผลิตสบู่ผสมสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่นที่ได้จากปฏิกิริยา Saponificationของโซเดียมไฮดรอกไซด์ 2.การผลิต Product Dossage Form Process Solution/Essence 3.การผลิต Product Dossage Form Process Tonic/Toner 4.การผลิต Product Dossage Form Process เจลใส Cold Process 5.การผลิต Product Dossage Form Process Emugel เจลกึ่งครีม O/W
Cold Process 6.การผลิต Product Dossage Form Process Emulsion O/W Cold Process 7.การผลิต Product Dossage Form Process Cleansing Base (Shampoo/Cleansing gel/ Body bath gel) 8.การผลิต Product Soothing Essence Cleansing Mild สูตรเนื้อบางเบา
ให้ผิวชุ่มชื้น 9.การผลิต Product Cleansing Mild
เจลทำความสะอาดผิวหน้าสูตรอ่อนโยน 10.การผลิต Product Hybrid Sunscreen Cream SPF 50/PA++++ ครีมกันแดดประสิทธิภาพสูง
ป้องกัน UVA, UVB, IR
3. ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอน 3.1 ตารางแสดงรายชื่อสถานประกอบการ สถานประกอบการ ที่อยู่ ระยะเวลาในการศึกษา ชื่อผู้ประสานงาน เบอร์โทร โรงงานผลิตเครื่องสำอางโรงพยาบาล เบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ
80 พรรษา อำเภอเบญจลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ สิงหาคม-กันยายน จ่าสิบตรีคมสรรค์บุษบรรณ์ 0801673209 กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโพนค้อ บ้านโพนค้อ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ สิงหาคม-กันยายน นางวรรณภา ปัญญา 0942643666 3.2 ความคิดเห็นจากสถานประกอบการต่อคุณภาพบัณฑิต (เป็นไปตามทักษะ สมรรถนะ ที่สถานประกอบการคาดหวังหรือไม่ อย่างไร) 1.การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้บริโภคโดยคำนึงถึงการนำสารสกัดและสรรพคุณที่เหมาะสมไม่เป็นอันตราย การคิดค้นสูตรตามหลักการและคำนึงถึงมาตรฐาน 2.การคำนึงถึงองค์ประกอบทางเคมี ซึ่งผู้เรียนต้องทำความเข้าใจประเภทของกลุ่มสาร Active Ingredient สมุนไพรที่ผ่านการสกัดในรูปแบบสดหรือแห้ง และการแยกสารพฤษเคมีต้องมีการควบคุมคุณภาพสูงและความปลอดภัยจากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์
  - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ 1. สถานที่ฝึกปฏิบัติควรเพิ่มเครื่องมือที่ทันสมัย เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้เครื่องมือ และทดลองปฏิบัติอย่างทั่วถึง 2.การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรมีหลากหลายควรมีการวิเคราะห์ข้อดีข้อเด่นของผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดเพื่อเป็นกรณีศึกษา

3.3 กระบวนการ Partnership กับสถานประกอบการ ในประเด็นดังนี้
  - การหาสมรรถนะ/skill ที่ชัดเจน (Ready to work)
ผู้สอนในหลักสูตรซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร จากโรงงานผลิตเครื่องสำอางโรงพยาบาลเบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ร่วมวิเคราะห์เนื้อหาความรู้ที่จำเป็นต้องเรียนรู้ และวิเคราะห์ตัวอย่างการทดลองปฏิบัติโดยมีการเรียงลำดับทักษะที่สำคัญจำเป็นในการแต่ละประเด็นเช่น การสกัดสารด้วยวิธีการต่าง ๆ การวิเคราะห์สารที่ใช้ในการตั้งต้นสูตรปลิตภัณฑ์ แหล่งข้อมูลอ้างอิงเพื่อค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม โดยมีสมรรถนะ/skill ที่ชัดเจน (Ready to work) ดังนี้   1. การสกัดสมุนไพรด้วยตัวทำละลาย สารละลายน้ำ สารละลายในแอลกอฮอล์ สารละลายน้ำมัน ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน หอมแดง ดอกดาวเรือง ว่านหางจระเข้ ใบบัวบก เปลือกเลมอน เปลือกมังคุด   2. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในตำรับยา และเครื่องสำอาง   3. การปฏิบัติพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรประเภทเครื่องสำอาง สบู่ เจลล้างหน้า ครีมกันแดด โลชั่นสมุนไพร น้ำมันหอมระเหย น้ำตบบำรุงผิวพรรณ - การจัดทำหลักสูตร 1. ศึกษาความต้องการจำเป็นของผู้ประกอบการ การพัฒนาบุคลากรที่สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรประเภทเครื่องสำอางควรมีคุณลักษณะอย่างไร ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาตนเองของผู้เรียน
2. นำข้อมูลมาวิเคราะห์ และวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่จำเป็นต้องเรียนรู้และพัฒนาสำหรับผู้มีพื้นฐานทางด้านเคมี และสมุนไพร ผู้ไม่มีพื้นฐานด้านเคมี และสมุนไพร กำหนดเนื้อหาสารถและจุดประสงค์การเรียนรู้ 3. ร่วมกันจัดทำร่างโครงสร้างของหลักสูตร และประเมินความเหมาะสมของเนื้อหาสาระร่วมกับวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร จากโรงงานผลิตเครื่องสำอางโรงพยาบาลเบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
1) ปฏิบัติการทดลองรสยาสรรพคุณทางยา 2) ปฏิบัติการทดลองรสยา สรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่น 3) ปฏิบัติการทดลองสกัดสารสำคัญจากพืชและสมุนไพรในท้องถิ่น 4) การสัมภาษณ์ การทำแบบสอบถามในการสำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 5) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในการสำรวจความต้องการด้านการตลาดในการผลิต และการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปาก 6) ปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผิวพรรณ ผม และช่องปากจากสารสกัดจากพืชสมุนไพรในท้องถิ่นได้ตามมาตรฐานโดยคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภค
4. กำหนดเกณฑ์การประเมินผล และการประเมินชิ้นงานการผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
- Co-Coach/Co-teach 1) จ่าสิบตรีคมสรรค์ บุษบรรณ์ โรงงานผลิตเครื่องสำอางโรงพยาบาลเบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ร่วมเป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติ ให้สนับสนุนการใช้อุปกรณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรวรรณ สิทธิศาสตร์ และผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.สิริพร ยศแสน ผู้เชี่ยวชาญด้านการสกัดสมุนไพร และการตีพิมพ์ผลงานด้านสารสกัดสมุนไพร เป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติ 3) เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโพนค้อ พื้นที่ความร่วมมือในการขยายความรู้ และทดลองปฏิบัติร่วมกับชุมชน เช่น การศึกษาความต้องการด้านการตลาด
- การเรียนรู้ร่วมกันโดยการนำปัญหาของสถานประกอบการเป็นตัวตั้ง และร่วมกันแก้ปัญหา ร่วมสนับสนุนและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับอุปกรณ์การฝึกปฏิบัติ การใช้ห้องทดลองในการปฏิบัติการ - กระบวนการติดตามและประเมินผลร่วมกัน 1) จ่าสิบตรีคมสรรค์ บุษบรรณ์ โรงงานผลิตเครื่องสำอางโรงพยาบาลเบญจลักษณ์เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ร่วมเป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติ ให้สนับสนุนการใช้อุปกรณ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พัชรวรรณ สิทธิศาสตร์ และผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.สิริพร ยศแสน ผู้เชี่ยวชาญด้านการสกัดสมุนไพร และการตีพิมพ์ผลงานด้านสารสกัดสมุนไพร เป็นวิทยากรและเป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติ 3) เครือข่ายกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโพนค้อ พื้นที่ความร่วมมือในการขยายความรู้ และทดลองปฏิบัติร่วมกับชุมชน เช่น การศึกษาความต้องการด้านการตลาด

  1. ผู้เรียน 4.1 จำนวนนักศึกษา.......30.........คน

    4.2 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ส่งผลต่อสถานประกอบการ หรือการดำเนินธุรกิจ ที่สามารถนำไปใช้งานและเกิดผลลัพธ์ต่อสถานประกอบการอย่างไร เช่น เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เพิ่มรายได้/ลดรายจ่าย เป็นต้น

    1. การใช้สมุนไพรในท้องถิ่นในการสกัดสารสำคัญ เช่น ตะไคร้หอม หอมแดง ขมิ้น ใบบัวบก
    2. ความรู้ด้านทฤษฎีเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมี ในตำรับยา และเครื่องสำอาง
    3. ความรู้ด้านกายวิภาคเกี่ยวกับ ผิวหนัง เส้นผม
    4. ความรู้ด้านทฤษฎีประเภทของกลุ่มสาร
    5. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร 4.3 ภาวะการมีงานทำ/ การปรับเปลี่ยนงาน การนำความรู้ไปใช้ในอนาคตของผู้เรียน มีดังนี้ 1.นำไปใช้ปรับสอนนักเรียน และค้นคว้าทำผลิตภัณฑ์ที่สนใจ เช่น สมุนไพรที่บำรุงเส้นผม ย้อมผมงอก
      ครีมบำรุงผิว 2.นำสมุนไพรไปใช้ให้ถูกหลัก ถูกขนาด ถูกวิธี ถูกสัดส่วน ถูกการบำรุงสุขภาพ 3.นำไปสกัดสารพืชสมุนไพรในท้องถิ่น และจัดโครงการยริการวิชาการ 4.ทำครีมบำรุงผิว 5.นำความรู้ไปออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนให้แก่นักเรียนที่สนใจเรียน 6.นำความรู้ไปปรับปรุงประยุกต์ใช้โดยนำผลิตภัณฑ์ที่ทำมาใช้เองนำวิธีการสกัดสมุนไพรต่อยอดความรู้ 7.ทำผลิตภัณฑ์โลชั่น สบู่ การสกัดสารน้ำมันหอมระเหย
      8.พัฒนาผลิตภัณฑ์ และนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมนักเรียนที่สนใจในการผลิตสมุนไพรเพื่อธุรกิจบริการสุขภาพ เช่น ครีม น้ำมันหอมระเหย
    6. นำไปประกอบอาชีพเสริม และเป็นวิทยากรสร้างอาชีพในชุมชน
    7. นำแนวทางวิธีการสกัดสารมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแก่นักเรียน และนำไปพัฒนาต่อยอดในการทำโครงงาน
    8. นำความรู้จากการปฏิบัติจริงไปประยุกต์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น การสกัดน้ำมันมะพร้าวแบบเย็น
    9. นำไปพัฒนาโรงเรียนตามโครงการการมีงานทำ 4.4 ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อผู้เรียน
    10. อยากให้มีหลักสูตรพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจำเป็นต้องได้เรียนรู้หลักการทฤษฎี การทดลองปฏิบัติ การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐานโดยคำนึงถึง ความรู้ด้านทฤษฎีเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมี ในตำรับยา และเครื่องสำอาง ความรู้ด้านกายวิภาคเกี่ยวกับ ผิวหนัง เส้นผม และความรู้ด้านทฤษฎีประเภทของกลุ่มสารที่นำมาพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
    11. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาความรู้ และร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสารสกัดสมุนไพรในท้องถิ่น
    12. การให้การสนับสนุนวิทยากรเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และความรู้ใหม่ที่ทันสมัย
  2. การใช้จ่ายงบประมาณ
    5.1 แหล่งงบประมาณที่ใช้รวมทั้งสิ้น 898,379.50 บาท จำแนกเป็น   - จากงบประมาณโครงการ 900,000.  บาท   - สถาบันสนับสนุน - บาท   - ผู้เรียน    -      บาท 5.2 การใช้จ่ายงบประมาณ (ไม่ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนในการจัดการศึกษาตามปกติ/ ไม่ซ้ำซ้อนกับโครงการอื่นๆ ที่สถาบันได้รับการอุดหนุนแล้ว) รายการ งบประมาณ (บาท) กิจกรรมภาคทฤษฎี และทดสองปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน * 600 บาท * 6 ชั่วโมง * 16 วัน


    115,200 ค่าใช้สอย 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน * 200 บาท * 16 มื้อ 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน * 35 บาท * 32 มื้อ
    96,000 33,600 ค่าวัสดุกิจกรรม 1.water (น้ำสะอาด) จำนวน 100 ลิตร * 3 บาท 2.Disodium EDTA จำนวน 3 กิโลกรัม * 350 บาท 3.Glycerine จำนวน 6 ลิตร * 85 บาท 4.Xanthan gum จำนวน 1 กิโลกรัม * 2,388 บาท 5.PEG-40 Hydrogenated caster oil จำนวน 1 กิโลกรัม * 308 บาท 6.Phenoxyethanol (and) Chlorphenesin (and) Glycerin จำนวน 3 ลิตร * 3,000 บาท 7.Fragance จำนวน 0. 5miss rose * 2,800 บาท 8.Polysorbate 80 จำนวน 1 ลิตร * 258 บาท 9.Ammonium Acryloyldimethyltaurate/ Beheneth-25 Methacrylate Crosspolymer จำนวน 3 กิโลกรัม * 5,438 บาท 10.Carbomer 940 จำนวน 0.5 กิโลกรัม * 1,190 บาท 11.Triethanolamine จำนวน 0.5 ลิตร * 150 บาท 12.Ammonium Acryloyldimethyltaurate/VP Copolymer
    จำนวน 1 กิโลกรัม * 4,508 บาท 13.Caprylic/Capric Triglyceride จำนวน 4 ลิตร * 540 บาท 14.Magnesium Sulfate จำนวน 0.5 กิโลกรัม * 53 บาท 15.Polyglyceryl-2 Dipoly-hydroxystearate จำนวน 0.5 กิโลกรัม * 1,548 บาท 16.Polyglyceryl-3 Methylglucose Distearate จำนวน 0.5 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืชสมุนไพร เรียนOnlineผ่าน Program Zoom meeting (2) ความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของพืชสมุนไพร (3) แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสรรพคุณสมุนไพรในท้องถิ่น (4) งานวิจัยเกี่ยวกับการทดสอบหาสรรพคุณของสมุนไพรในท้องถิ่น (5) สารสำคัญหรือแก่นยาประโยชน์ของสมุนไพร (6) สังเคราะห์ข้อมูลและวิธีการทดลองเกี่ยวกับสารสำคัญหรือแก่นยาประโยชน์ของสมุนไพร (7) ตัวอย่างงานวิจัย:การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร (8) ศึกษาค้นคว้าวิเคราะห์ตัวอย่างงานวิจัย:การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืชสมุนไพร (9) แนวคิดทฤษฎีในการปฏิบัติการเพาะปลูกพืชสมุนไพรด้วยเทคนิค ต่าง ๆ (10) เทคนิคต่าง ๆ และตรวจสอบมาตรฐานผลผลิต (การปลูก) พืชสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรการผลิตสมุนไพรสำหรับธุรกิจบริการสุขภาพ (Herbs Production for Healthcare Service Business) จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0007

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด