แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“ การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0051 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0051 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วิธีการวัดและประเมินผลของผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร (พร้อมแนบเอกสาร ถ้ามี)
การวัดและประเมินผลของผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร มี 4 วิธี ได้แก่
(1) การเข้าเรียนทั้งในห้องเรียนและแบบออนไลน์ ซึ่งมีการตรวจสอบรายชื่อในบางคาบที่จัดการเรียนการสอน หากผู้เรียนไม่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการประเมินผลในคาบดังกล่าว (แจ้งไว้ล่วงหน้าในตารางเรียนและกิจกรรม) ผู้เรียนจะไม่ผ่านเกณฑ์ของหลักสูตร
(2) การมีส่วนร่วมในห้องเรียน ประเมินโดยการสังเกตผู้เรียน
(3) การบ้าน/งานที่มอบหมายในห้องเรียน ในบางหัวข้ออาจารย์ผู้สอนจะมอบหมายงานหรือการบ้านให้ผู้เรียนกลับไปค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และให้นำมาส่งในสัปดาห์ถัดไป เพื่อเป็นการประเมินความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ความตรงต่อเวลา และความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อนั้นๆ
(4) กรณีศึกษาตามที่ผู้เรียนสนใจ โดยมอบหมายให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการเรียนหลักสูตรชุดวิชา มาพัฒนาปรับปรุงธุรกิจเดิมของตนเอง หรือเขียนเป็นแผนธุรกิจในรูปแบบกิจการเพื่อสังคม และนำข้อมูลมานำเสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อเป็นการประเมินความรู้ความเข้าใจ การประยุกต์ความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน ตลอดจนทักษะการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจของตนเอง
2.3 เป้าหมายของการดำเนินงานของหลักสูตรเน้นทักษะประเภทใด : Reskill/Upskill
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลัพธ์ของผู้เรียนเมื่อจบการศึกษา โดยเปรียบเทียบผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่ระบุไว้ในหลักสูตรว่าสอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร
ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร
PLO 1 ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ธุรกิจและเศรษฐกิจ เพื่อนำมานำมาพัฒนาตัวแบบการจัดการธุรกิจ
การเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคม
PLO 2 ผู้เรียนสามารถประเมินและวิเคราะห์โครงการเพื่อธุรกิจการเกษตร และธุรกิจเชิงสังคมในชุมชน
PLO 3 ผู้เรียนสามารถนำเสนอตัวแบบธุรกิจการเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคมได้
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนจากการตอบแบบสอบถาม
1. วิชาที่เรียนทั้งหมดเป็นพื้นฐานในการทำธุรกิจ สิ่งที่กำลังนำไปใช้คือการใช้ Facebook ads manager และสนใจการระดมทุนผ่าน crowdfunding ซึ่งเป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นำมาปรับใช้ให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี
2. เป็นการเรียนรู้ตามหลักวิชาการ ได้ฟังการบรรยายหัวข้อใหม่ๆ จากวิทยากรที่มาจากภาคธุรกิจ ผนวกกับประสบการณ์ของผู้สอนที่มีประสบการณ์มากๆ ได้ไปดูงานผู้ประกอบการที่เป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งทำให้เห็นภาพชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง และเกิดความยืดหยุ่นในการนำไปปรับใช้เพื่อปรับปรุง/แก้ไขในสถานการณ์จริง
3. ได้เรียนรู้ถึงเนื้อหาต่างๆ ที่ประกอบขึ้นมาเป็นแผนธุรกิจ ได้มีโอกาสคิดวิเคราะห์วางแผนธุรกิจที่ตนเองสนใจ นำเสนอแผนธุรกิจ และได้รับ Comment จากอาจารย์ แบ่งปันประสบการณ์ต่างๆ เรียนรู้จากเพื่อนๆ ในชั้นเรียน ช่วยในการพัฒนาแผนธุรกิจที่เขียนมาให้ดีขึ้น
4. ได้เรียนรู้ว่าทุกองค์ประกอบของการทำธุรกิจล้วนสำคัญ และไม่ใช่เรื่องง่ายๆที่จะทำให้ธุรกิจอยู่ได้และอยู่อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือธุรกิจต้องมีกำไร ซึ่งปกติถ้าไม่ได้เรียนคงแค่คิดว่าได้ทำเพื่อสังคมก็เพียงพอแล้ว แต่พอได้เรียนจึงได้รู้ว่าธุรกิจต้องอยู่ได้ก่อน จึงจะไปช่วยสังคมได้
อธิบายกระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไร
1. กระบวนการวัดผลของผู้เรียนนอกจากจะดำเนินการด้วยการสังเกตและสอบถามในชั้นเรียนแล้ว ทางชุดวิชาได้จัดตั้งไลน์กลุ่มของคณาจารย์และผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น หรือหากผู้เรียนมีคำถาม ก็สามารถส่งคำถามได้ เพื่อให้ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมหรือผู้เรียนท่านอื่นแชร์ประสบการณ์
2. ในระหว่างการเรียนการสอนมีการนำบอร์ดเกมมาใช้เพื่อเป็นกิจกรรมกระตุ้นการเรียนรู้แบบactive learning ในบางหัวข้อ พร้อมทั้งสามารถใช้ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ3-4 คน และให้ผู้เรียนทำการแข่งขันระหว่างกัน เพื่อหาผู้ชนะในเกมการแข่งขัน เมื่อจบการแข่งขันให้ผู้เรียนที่ชนะออกมาทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคิด และการตัดสินใจที่ใช้ในการเล่นเกม
สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่ระบุในหลักสูตรเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ หรือควรมีการปรับปรุงอย่างไร (กรณีมีการจัดการการสอนมากกว่า 1 รุ่นแล้ว กรุณาแยกรายละเอียดตามรุ่น)
ผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแบบธุรกิจการเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคมได้ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ธุรกิจและเศรษฐกิจ เพื่อนำมาพัฒนาตัวแบบการจัดการธุรกิจการเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคม นอกจากนี้ ผู้เรียนบางคนสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
17
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0051
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“ การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0051 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม
บทคัดย่อ
โครงการ " การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0051 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1 |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวิธีการวัดและประเมินผลของผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร (พร้อมแนบเอกสาร ถ้ามี)
การวัดและประเมินผลของผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร มี 4 วิธี ได้แก่
(1) การเข้าเรียนทั้งในห้องเรียนและแบบออนไลน์ ซึ่งมีการตรวจสอบรายชื่อในบางคาบที่จัดการเรียนการสอน หากผู้เรียนไม่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการประเมินผลในคาบดังกล่าว (แจ้งไว้ล่วงหน้าในตารางเรียนและกิจกรรม) ผู้เรียนจะไม่ผ่านเกณฑ์ของหลักสูตร
(2) การมีส่วนร่วมในห้องเรียน ประเมินโดยการสังเกตผู้เรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลัพธ์ของผู้เรียนเมื่อจบการศึกษา โดยเปรียบเทียบผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่ระบุไว้ในหลักสูตรว่าสอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร อธิบายกระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตรว่าเป็นอย่างไร 1. กระบวนการวัดผลของผู้เรียนนอกจากจะดำเนินการด้วยการสังเกตและสอบถามในชั้นเรียนแล้ว ทางชุดวิชาได้จัดตั้งไลน์กลุ่มของคณาจารย์และผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็น หรือหากผู้เรียนมีคำถาม ก็สามารถส่งคำถามได้ เพื่อให้ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมหรือผู้เรียนท่านอื่นแชร์ประสบการณ์ 2. ในระหว่างการเรียนการสอนมีการนำบอร์ดเกมมาใช้เพื่อเป็นกิจกรรมกระตุ้นการเรียนรู้แบบactive learning ในบางหัวข้อ พร้อมทั้งสามารถใช้ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ3-4 คน และให้ผู้เรียนทำการแข่งขันระหว่างกัน เพื่อหาผู้ชนะในเกมการแข่งขัน เมื่อจบการแข่งขันให้ผู้เรียนที่ชนะออกมาทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการคิด และการตัดสินใจที่ใช้ในการเล่นเกม สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่ระบุในหลักสูตรเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ หรือควรมีการปรับปรุงอย่างไร (กรณีมีการจัดการการสอนมากกว่า 1 รุ่นแล้ว กรุณาแยกรายละเอียดตามรุ่น) ผลลัพธ์การเรียนรู้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแบบธุรกิจการเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคมได้ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์ธุรกิจและเศรษฐกิจ เพื่อนำมาพัฒนาตัวแบบการจัดการธุรกิจการเกษตร และ/หรือธุรกิจเชิงสังคม นอกจากนี้ ผู้เรียนบางคนสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
|
17 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การพัฒนาธุรกิจเพื่อเป็นผู้ประกอบการเชิงสังคม จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0051
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......