แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยพะเยา


“ เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0037 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยพะเยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)



บทคัดย่อ

โครงการ " เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วิทยาศาสตร์ของเห็ด
  2. การผลิตหัวเชื้อเห็ด และวัสดุเพาะเห็ด (Mushroom spawn production)
  3. เทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology) และการผลิตหัวเชื้อเห็ด
  4. การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ
  5. การจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management)
  6. เทคโนโลยีผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)
  7. กลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies)
  8. กลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies)
  9. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
  10. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
  11. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
  12. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
  13. การเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้
  14. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology)
  15. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  16. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  17. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
  18. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง
  19. มาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry)
  20. การเพาะเห็ดเป็นยา
  21. การเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning)
  22. การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology)
  23. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  24. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  25. การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology)
  26. การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology)
  27. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด
  28. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด
  29. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด และวัสดุเพาะเห็ด (Mushroom spawn production)
  30. ฟังการบรรยายเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology) และฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด
  31. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดลม เป็นต้น
  32. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น
  33. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management)
  34. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)
  35. ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies)
  36. ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) เห็ดหลินจือ
  37. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ
  38. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ
  39. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ
  40. การดูแลก้อนเชื้อเห็ดถุงชนิดต่างๆ
  41. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้
  42. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเห็ดชนิดต่างๆ
  43. ศึกษาดูฟาร์มเห็ด
  44. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ด
  45. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น
  46. กษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น
  47. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติมาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry)
  48. ฟังการบรยยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดเป็นยา ได้แก่ เห็ดถังเช่า เป็นต้น
  49. ฟังการบรรยายการเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning)
  50. การแปรรูปไส้อั่วจากเห็ด
  51. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  52. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  53. การผลิตผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และ การผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเห็ด
  54. การแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ) และการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)
  55. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ
  56. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ
  57. การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น
  58. การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ
  59. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ
  60. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ
  61. การเพาะเห็ดเป็นยา เห็ดฟาง และเห็ดขอนไม้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด

วันที่ 29 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงชีววิทยาของเห็ด หลักการบ่งบอกชนิดเห็ด และธรรมชาติวิทยาของเห็ด
  2. ผู้เข้าร่วมศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงวิธีศึกษาสัณฐานวิทยาของเห็ด
  3. ผู้เข้าร่วมศึกษาและฝึกปฏิบัติการจัดจำแนกเห็ดเบื้องต้น และศึกษาสัณฐานวิทยาของเห็ดเศรษฐกิจภายใต้กล้องจุลทรรศน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

Output
1. ผู้เข้าร่วมอบรม ทราบถึงชีววิทยาของเห็ด หลักการบ่งบอกชนิดเห็ด และธรรมชาติวิทยาของเห็ด 2. ผู้เข้าร่วมทราบถึงวิธีศึกษาสัณฐานวิทยาของเห็ด 3. ผู้เข้าร่วมได้ฝึกการจัดจำแนกเห็ดเบื้องต้น และศึกษาสัณฐานวิทยาของเห็ดเศรษฐกิจภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Outcome
1. ผู้เรียนสามารถนำเอาองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในด้านการจัดจำแนกเห็ดตามหลักอนุกรมวิธานสมัยใหม่ 2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และสามารถบ่งชนิดของเห็ดได้เมื่อพบเจอได้ในชีวิตประจำวัน เขียนถึง Nakarin Suwannarach

 

50 0

2. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด

วันที่ 30 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายลักษณะเห็ดมีพิษ  วิธีสังเกตุเห็ดมีพิษ  และวีธีปฐมพยาบาลเมื่อกินเห็ดมีพิษ
  2. ฝึกปฏิบัติการแยกเชื้อเห็ดกินได้
  3. ฝึกปฏิบัติวิธีการขยายเชื้อเห็ดกินได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถจำแนกลักษณะเห็ดมีพิษได้
  2. ผูเเรีนนทราบ วิธีสังเกตุเห็ดมีพิษ
  3. ผู้เรียนทราบวีธีปฐมพยาบาลเมื่อกินเห็ดมีพิษได้
  4. ผู้เรียนสามารถแยกเชื้อเห็ดกินได้
  5. ผู้เรียนสามารถขยายเชื้อเห็ดกินได้ และสามารถนำไปต่อยอดเพื่อประกอบธุรกิจได้

 

50 0

3. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด และวัสดุเพาะเห็ด (Mushroom spawn production)

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังบรรยายการผลิตหัวเชื้อเห็ด การเตรียมวัสดุเพาะเห็ด
  2. ฟังบรรยายเทคนิคต่างๆ ในการผลิตหัวเชื้อเห็ด และสูตรอาหารเพาะเห็ด เป็นต้น
  3. ฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด
  4. ฝึกปฏิบัติการเตรียมวัสดุเพาะเห็ด
  5. ฝึกปฏิบัติการเตรียมอาหารเพาะเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถผลิตหัวเชื้อเห็ดได้ และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้
  2. ผู้เรียนสามารถเตรียมวัสดุเพาะเห็ดได้ และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้
  3. ผู้เรียนสามารถเตรียมอาหารเพาะเห็ดได้
  4. ผู้เรียนได้เทคนิคต่างๆ ในการทำหัวเชื้อเห็ด การเตรียมอาหารเพาะเห็ด

 

50 0

4. ฟังการบรรยายเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology) และฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology)   ศัตรูเห็ดที่สำคัญ ความเสียหาย และเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ดโดยวิธีชีวภาพ
  2. ฝึกปฏิบัติการทำหัวเชื้อเห็ดชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางลมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้าภูฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงศัตรูของเห็ดที่สำคัญ และทราบถึงวิธีป้องกันกำจัดศัตรูของเห็ดได้
  2. ผู้เรียนทราบถึงความเสียหายที่เกิดจากศัตรูเห็ด
  3. ผู้เรียนทราบถึงเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ดโดยวิธีชีวภาพ
  4. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการทำหัวเชื้อเห็ดชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางลมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางฟ้าภูฐาน และสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจได้

 

50 0

5. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดลม เป็นต้น

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.บรรยายและฝึกปฏิบัติการเตรียมวัสดุเพาะ
2.บรรยายและฝึกปฏิบัติการอัดก้อนเห็ด 3.บรรยายและฝึกปฏิบัติการนึ่งก้อนเชื้อเห็ด
4.บรรยายและฝึกปฏิบัติการจัดการโรงเรือนเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถเตรียมวัสดุเพาะเห็ดถุงได้
  2. ผู้เรียนสามารถเอัดก้อนเห็ดได้
  3. ผู้เรียนสามารถนึ่งก้อนเขื้อเห็ดได้
  4. ผู้เรียนทราบถึงวิธีการจัดการโรงเรือนเห็ด
  5. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้

 

40 0

6. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติการปลูกเชื้อเห็ด (เห็ดนางฟ้า และ เห็ดนางรม) ลงในก้อนเชื้อเห็ด
  2. ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติการบ่มก้อนเชื้อเห็ด
  3. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการจัดการบรรจุเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการปลูกเชื้อเห็ด (เห็ดนางฟ้า และ เห็ดนางรม) ลงในก้อนเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนทราบวิธีการบ่มก้อนเชื้อเห็ด
  3. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการจัดการบรรจุเห็ดได้
  4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้

 

40 0

7. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management)

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การประยุกต์ใช้ระบบการจัดการสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับเห็ดแต่ละชนิดโดยใช้เทคโนโลยี 2.การทำ sensor ต่างๆ ที่ทันสมัยที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เรียนทราบและฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้ระบบการจัดการสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับเห็ดแต่ละชนิด
โดยใช้เทคโนโลยีได้ และสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจของตนเองได้ 2.ผู้เรียนทราบและฝึกปฏิบัติ การทำ sensor ต่างๆ ที่ทันสมัยที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ได้ และสามารถนำไปต่อยอดทางธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

8. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการต่ออุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลสภาพแวดล้อมในโรงเรือนเพาะเห็ด
  2. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการติดตั้งระบบสื่อสาร และโครงข่ายข้อมูลการเกษตรแบบไร้สายภายในฟาร์ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถต่ออุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลสภาพแวดล้อมในโรงเรือนเพาะเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถติดตั้งระบบสื่อสาร และโครงข่ายข้อมูลการเกษตรแบบไร้สายภายในฟาร์มได้
  3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้

 

40 0

9. ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies)

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฟังการบรรยาย กระบวนการวางแผน และการจัดการด้านแนวความคิดเกี่ยวกับสินค้า ตลอดจนแนวคิดเพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนอันนำมาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและก่อให้เกิดผลกำไรแก่ผู้ผลิต รวมทั้งกลุ่มกิจกรรม และพฤตกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมธุรกิจ รวมทั้งกิจกรรมเชิงธุรกิจตลาดเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา จากต้นทางไปยังปลายทาง เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงกระบวนการวางแผนการตลาดเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น
  2. ผู้เรียนทราบถึงการจัดการด้านแนวความคิดเกี่ยวกับสินค้า ตลอดจนแนวคิดเพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนอันนำมาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและก่อให้เกิดผลกำไรแก่ผู้ผลิต รวมทั้งกลุ่มกิจกรรม และพฤตกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมธุรกิจเห็ด
  3. ผู้เรียนทราบถึงกิจกรรมเชิงธุรกิจตลาดเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา จากต้นทางไปยังปลายทาง
  4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดและพัฒนาธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

10. ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) เห็ดหลินจือ

วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายกระบวนวางแผน และการจัดการด้านแนวความคิดเกี่ยวกับสินค้า ตลอดจนแนวคิดเพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนอันนำมาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและก่อให้เกิดผลกำไรแก่ผู้ผลิต รวมทั้งกลุ่มกิจกรรม และพฤตกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมธุรกิจเห็ดหลินจือ
  2. ฟังการบรรยายกิจกรรมเชิงธุรกิจการเกษตรจากต้นทางไปยังปลายทางของธุรกิจเห็ดหลินจือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงกระบวนวางแผน และการจัดการด้านแนวความคิดเกี่ยวกับสินค้า ตลอดจนแนวคิดเพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนอันนำมาซึ่งความพึงพอใจของลูกค้าและก่อให้เกิดผลกำไรแก่ผู้ผลิต รวมทั้งกลุ่มกิจกรรม และพฤตกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมธุรกิจเห็ดหลินจือ
  2. ผู้เรียนทราบถึงกิจกรรมเชิงธุรกิจการเกษตรจากต้นทางไปยังปลายทางของธุรกิจเห็ดหลินจือ
  3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

11. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ

วันที่ 3 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เห็ดนางรมเทา เห็ดนางฟ้า เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปดูแลที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรีย.บันทึกผลการเจิรญของเส้นใยก้อนเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

12. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ

วันที่ 4 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เห็ดนางรมเทา เห็ดนางฟ้า เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปดูแลที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถบันทึกผลการเจริญของเส้นใยก้อนเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

13. การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ

วันที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เห็ดนางรมเทา เห็ดนางฟ้า เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปเพาะเลี้ยงที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถบันทึกผลการเจริญของเส้นใยก้อนเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

14. การดูแลก้อนเชื้อเห็ดถุงชนิดต่างๆ

วันที่ 11 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ ได้แก่ เห็ดนางรมเทา เห็ดนางฟ้า เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปเพาะเลี้ยงที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้เรียนสามารถบันทึกผลการเจริญของเส้นใยก้อนเชื้อเห็ดได้ 2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

15. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้

วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเพาะเห็ดฟางและเห็ดถั่วในตะกร้า วัสดุที่ใช้ 1. เชื้อเห็ดฟาง และเห็ดถั่ว 2. ฟางข้าวแห้ง 3. อาหารเสริมเห็ด 4. มูลสัตว์แห้ง วิธีเพาะ 1. แช่ฟางข้าวในน้้าประมาณ 12 ชั่วโมง
2. นำหัวเชื้อเห็ดฟางมาฉีก เป็นชิ้นเล็ก ๆ ขนาด ประมาณ หัวแม่มือ ใส่ในกะละมังที่เตรียมไว้ อัดให้แน่น ใส่ฟางให้ กระจายให้ทั่วสม่ำเสมอ
3. โรยอาหารเสริมโดยชิดข้างขอบตะกร้าหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ เว้น ตรงกลางไว้ อย่าโรยอาหารเสริมหนาเกินไปเพระจะเกิดเน่าเสียได้

การเพาะเห็ดแบบขอนไม้ (เห็ดลม และเห็ดขอนขาว) วัสดุที่ใช้ 1. เชื้อเห็ดลมแลเห็ดขอนขาว ที่ไม่อ่อนและไม่แก่เกินไป เส้นใยสีขาว 2. ขอนไม้ ควรใช้ไม้มะม่วง ไม้เต็ง รัง (แงะ, เปา) พลวง (เหียง) ขยอม และไม้ที่เห็ดลมขึ้นตามธรรมชาติ ควรเป็นไม้ที่มีเปลือกสมบูรณ์ เส้นผ่าศูนย์กลาง 4-6 นิ้ว ยาวประมาณ 1 เมตร อายุปานกลาง ควรตัดไม้ในช่วงฤดูร้อน เพื่อจะได้สะสมอาหารอย่างเพียงพอ 3. สว่าน หรือค้อนเจาะไม้ หรือตุ๊ดตู่ ขนาด 4-6 หุน 4. ฝาปิด เช่น ปูนซีเมนต์ โฟม เปลือกไม้ จุกพลาสติก วิธีเพาะ 1. ใช้สว่านเจาะไม้ ลึกประมาณ 1 นิ้ว ห่างกันประมาณ 3-5 นิ้ว แต่ละแนวเจาะสลับฟันปลา ใส่เชื้อเห็ดให้เต็มรู กดให้แน่น ปิดรูด้วยเปลือกไม้ โฟม หรือปูนซีเมนต์ 2. นำขอนไม้ที่เพาะไว้แล้วไปบ่มไว้ โดยวางตามขวางในแนวนอน ซ้อนสลับกันแบบหมอนรถไฟ ควรบ่มในที่ร่ม อากาศถ่ายเท ลมไม่โกรก เพราะจะทำให้แห้งเร็วเกินไป หากขอนไม้แห้งให้รดน้ำเป็นละออง อย่าให้เปลือกเปียกเกินไป ระหว่างที่บ่มควรกลับกองไม้บ้าง สัก 2-3 ครั้ง เพื่อให้เส้นใยเดินทั่ว ควรบ่มไว้ไม่ต่ำกว่า 4 เดือน 3. นำขอนไม้ที่บ่มสมบูรณ์แล้วไปแช่น้ำ ประมาณ 5 ชั่วโมง เพื่อให้เส้นใยเกิดดอกเห็ด มีความชื้นเพียงพอ ทำลายศัตรูเห็ด เช่น มด แมลงต่างๆ และทำให้เนื้อไม้อ่อนและเกิดดอกเห็ด 4. หลังจากแช่ขอนไม้แล้ว ใช้ไม้หรือค้อนทุบหัวไม้ทั้งสองข้าง หรือกระทุ้งแรงๆ เพื่อไล่น้ำที่แทรกอยู่ จากนั้นนำขอนไม้ไปวางในแนวตั้ง หรือวางนอนขนานกับพื้นในที่ร่มชื้น รดน้ำ วันละ 1-5 ครั้ง เห็ดจะออกเป็นรุ่นๆ หลังจากเก็บผลผลิตแล้วต้องงดน้ำ 7 วัน จากนั้นจึงเริ่มรดน้ำใหม่ วันละ 1-5 ครั้ง 5. ในระยะที่เห็ดออกดอก ต้องรดน้ำไม่ให้ขอนไม้แห้ง ดอกเห็ดจะอ้วนและสมบูรณ์ หลังเก็บดอกควรหยุดรดน้ำ ถ้าไม้ปีแรกหยุด 15-20 วัน และรดน้ำให้มากๆ สัก 5 วัน ถ้าไม่ออกดอกให้หยุด เห็ดจะเกิดดอกทันที แล้วจึงค่อยให้น้ำจนกระทั่งเก็บเห็ด ไม้ปีที่ 2 ควรพักขอนไม้ ไม่รดน้ำ 7-10 วัน สลับกันไปเรื่อยๆ 6. เมื่อเห็ดขึ้นครั้งแรกแล้วจะทิ้งช่วงออกเป็นรุ่นๆ ห่างกันประมาณ 20-30 วัน ในปีแรก และ 7-10 วัน ในปีที่สอง แต่ละรุ่นจะเก็บดอกเห็ดได้ 30-100 ดอก ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสภาพสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น ความชื้นอุณหภูมิ การถ่ายเทของอากาศ ขอนไม้ที่เพาะใส่เชื้อเพียงครั้งเดียว จะเกิดเห็ดในขอนไม้จนกว่าไม้ผุและจะเก็บดอกได้ รวมทั้งหมดประมาณ 3-5 กิโลกรัม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงในการเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้
  2. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการเตรียมวัสดุที่ใช้ ขั้นตอนการเพาะ เป็นต้น
  3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับนำไปประกอบเป็นอาชีพเสริม หรือต่อยอดเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

16. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเห็ดชนิดต่างๆ

วันที่ 18 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด : ความสำคัญของเห็ด, ประโยชน์ของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด, ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาเห็ด, แนวทางการจัดการหลังการเก็บเกี่ยและการเก็บรักษาเห็ด, ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด, การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด
  2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ดชนิดต่างๆ

- การเก็บเกี่ยว - การทำความสะอาด - การตัดแต่ง - การคัดเกรด - การบรรจุภัณฑ์ - เก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ - การขนส่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงความสำคัญของเห็ด, ประโยชน์ของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด, ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาเห็ด, แนวทางการจัดการหลังการเก็บเกี่ยและการเก็บรักษาเห็ด, ขั้นตอนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด, การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ด
  2. ผู้เรียนทราบและฝึกปฏิบัติการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเห็ดชนิดต่างๆ ได้

 

40 0

17. ศึกษาดูฟาร์มเห็ด

วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ ณ จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จากสถานประกอบการจริง หรือผู้ที่ประสบความสำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้
  2. ผู้เรียนได้เปิดแนวความคิดในการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับในการประกอบธุรกิจ ในการจัดการโรงเรือน การทำหัวเชื้อเห็ด การทำก้อนเห็ด และการเก็บเกี่ยวผลผลิต เป็นต้น

 

40 0

18. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ด

วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ ณ จังหวัดลำพูน จังหวัดลำปาง จากสถานประกอบการจริง หรือผู้ที่ประสบความสำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนได้รับความรู้เรื่องการผลิตหัวเชื้อเห็ดชนิดต่างๆ และสามารถนำความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจได้
  2. ผู้เรียนได้รับความรู้เรื่องขั้นตอนการผลิตก้อนเห็ดหอม ขั้นตอนการเพาะเห็ดหอม การเก็บเกี่ยว การตัดแต่ง และการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดหอม และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

19. ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น

วันที่ 31 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยต้นเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด จำนวนผลผลิตที่ได้ หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปเพาะเลี้ยงที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถบันทึกผลการเจริญของเส้นใยเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

20. ศึาษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษาค้นคว้าด้วยต้นเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น โดยผู้เรียนทำการบันทึกการเจริญเส้นใยของก้อนเชื้อเห็ดแต่ละชนิด จำนวนผลผลิตที่ได้ หลังจากที่ผู้เรียนได้ทำก้อนเชื้อเห็ดและนำไปเพาะเลี้ยงที่บ้านของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถบันทึกผลการเจริญของเส้นใยเชื้อเห็ดได้
  2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้การบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของการเจริญของเส้นใยเห็ด สู่การนำไปประกอบเป็นธุรกิจในอนาคตได้

 

40 0

21. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติมาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry)

วันที่ 7 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายเรื่องมาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry) : การเข้าถึงข้อกำหนดทางวิชาการในรูปของเอกสารวัตถุที่แพร่หลายแก่บุคคลทั่วไป ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องทางด้านสินค้าการเกษตร ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์อันเกิดจากการกสิกรรม การประมง การปศุสัตว์ หรือการป่าไม้ และผลพลอยได้ของผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นไปตามมาตรฐานสินค้าเกษตรที่กำหนดขึ้นภายใต้ พ.ร.บ. มาตรฐานสินค้าเกษตร เป็นต้น
  2. ฝึกปฏิบัติการจัดชั้นชนิดของเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงมาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตรของเห็ดชนิดต่างๆ
  2. ผู้เรียนสามารถจัดชั้นชนิดของเห็ด และวัดขนาดของเห็ดชนิดต่างๆ ได้
  3. ผู้เรียนสามารถจัดชั้นชนิดของเห็ดและสามารถนำข้อมูลที่จำแนกได้ไปประกอบการตัดสินใจในการทำธุรกิจได้

 

40 0

22. ฟังการบรยยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดเป็นยา ได้แก่ เห็ดถังเช่า เป็นต้น

วันที่ 8 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง ความเป็นมาของเห็ดถั่งเช่า
  2. ฟังการบรรยาย เรื่อง คุณสมบัติเด่นซึ่งมีผมต่อการปรับสมดุนร่างการ
  3. ฟังการบรรยาย เรื่อง เห็ดถังเช่าช่วยในการรักษาโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
  4. ฟังการบรรยาย เรื่อง ชี้จุดเป็นจุดตายธุระกิจถั่งเช่า วางแผนการตลาด
  5. ฝึกปฏิบัติ เรื่อง กระบวนการผลิตเพาะเลี้ยงเห็ดถังเช่า
  6. ฝึกปฏิบัติ เรื่อง การแปรรูปถังเช่าเพื่อเก็บและจำหน่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงความเป็นมาของเห็ดถั่งเช่า , คุณสมบัติเด่นซึ่งมีผมต่อการปรับสมดุนร่างการ , เห็ดถังเช่าช่วยในการรักษาโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ , จุดเป็นจุดตายธุระกิจถั่งเช่า และการวางแผนการตลาด
  2. ผู้เรียนสามารถลงมือปฏิบัติการผลิตเพาะเลี้ยงเห็ดถังเช่าได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการแปรรูปเห็ดถังเช่า
  4. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติการแปรรูปถังเช่าเพื่อเก็บและจำหน่ายได้

 

40 0

23. ฟังการบรรยายการเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning)

วันที่ 14 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฟังการบรรยาย เรื่อง การเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning) ดังนี้ 1. การสร้างแผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการที่ริเริ่มจะก่อตั้งกิจกรรมการเกษตร
2. การจัดการกระบวนการคิดพิจารณา และการตัดสินใจที่จะเปลี่ยนความคิดของผู้ประกอบการออกมาเป็นโอกาสทางธุรกิจการชี้แนะขั้นตอนต่างๆ ทีละขั้นตอน ในกระบวนการก่อตั้งกิจการ แผนจะให้รายละเอียดต่างๆ ทั้งเรื่องของการตลาด
การแข่งขันกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ การคาดคะเนทางการเงิน ที่จะชี้นำผู้ประกอบการไปสู่ความสำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถเขียนแผนธุรกิจเพื่อริเริ่มก่อตั้งกิจการของตนเองได้
  2. ผู้เรียนทราบถึงกระบวนการคิดพิจารณาและตัดสินใจที่จะเปลี่ยนแปลงความคิดที่จะประกอบธุรกิจได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนในกระบวนการก่อตั้งกิจการ และแผนรายละเอียดต่างๆ ทั้งเรื่องของการตลาด การแข่งขันกลยุทธในการดำเนินธุรกิจ การคาดคะเนทางการเงิน ที่จะชี้นำไปสู่ความสำเร็จได้

 

40 0

24. การแปรรูปไส้อั่วจากเห็ด

วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การแปรรูปไส้อั่วเห็ดนางฟ้า 1. ฟังการบรรยาย : การเลือกวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนและกระบวนการทำไส้อั่วเห็ดนางฟ้า เป็นต้น 2. ฝึกปฏิบัติ : การเลือกวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนและกระบวนการทำไส้อั่วเห็ดนางฟ้า เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงหลักการการเลือกวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนและกระบวนการทำไส้อั่วเห็ดนางฟ้า
  2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ การเลือกวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ ขั้นตอนและกระบวนการทำไส้อั่วเห็ดนางฟ้า ได้
  3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดและพัฒนาเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

25. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายหลักการจัดการการทำหัวเชื้อเห็ด การบริหารจัดการฟาร์ม ความเป็นมาของฟาร์ม และการตลาดของหัวเชื้อเห็ดต่างๆ
  2. การสาธิตการเตรียมวัสดุการทำหัวเชื้อเห็ด วิธีการทำหัวเชื้อเห็ด การบรรจุหัวเชื้อเห็ดเพื่อการส่งออก
  3. ฟังการบรรยายขั้นตอนการผลิต การบริหารจัดการฟาร์ม การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดถังเช่า
  4. การสาธิตการผลิตเห็ดถังเช่า
  5. เสวนาและสรุปกิจกรรมการศึกษาดูงาน เพื่อนำมาพัฒนาและเป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงหลักการจัดการการทำหัวเชื้อเห็ด การบริหารจัดการฟาร์ม ความเป็นมาของฟาร์ม และการตลาดของหัวเชื้อเห็ดต่างๆ
  2. ผู้เรียนทราบถึงเทคนิคการเตรียมวัสดุการทำหัวเชื้อเห็ด วิธีการทำหัวเชื้อเห็ด
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการผลิต การบริหารจัดการฟาร์ม การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดถังเช่า
  4. ผู้เรียนทราบเทคนิคการผลิตเห็ดถังเช่า
  5. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจาการศึกษาดูงานไปเป็นแนวทางในการตัดสินใจการประกอบธุรกิจของตนเองได้

 

50 0

26. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ

วันที่ 21 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายหลักการจัดการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน ความเป็นมาของ Farm Madame Fleur และการตลาดของเห็ดนางฟ้าภูฐาน
  2. การสาธิตการเตรียมวัสดุการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน วิธีการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน เป็นต้น
  3. ฟังการบรรยายขั้นตอนการผลิตก้อนเห็ด การบริหารจัดการฟาร์มวิสาหกิจชุมชนเห็ดเงินล้านสามเรือน ศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ดครบวงจร การตลาดและการส่งออกเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบหลักการจัดการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน ความเป็นมาของ Farm Madame Fleur และการตลาดของเห็ดนางฟ้าภูฐาน
  2. ผู้เรียนทราบเทคนิคการเตรียมวัสดุการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน เทคนิควิธีการทำก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน
  3. ผู้เรียนทราบขั้นตอนการผลิตก้อนเห็ด การบริหารจัดการฟาร์มวิสาหกิจชุมชนเห็ดเงินล้านสามเรือน ศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ดครบวงจร การตลาดและการส่งออกเห็ด
  4. ผู้เรียนสามรถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

27. การผลิตผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และ การผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเห็ด

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ดนางฟ้า 1. การผลิตผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า - การเลือกวัตถุดิบ - ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ
- วิธีทำลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า 2. การผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเห็ด - การเลือกวัตถุดิบ - ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ
- วิธีทำข้าวเกรียบเห็ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงวิธีการเลือกวัตถุดิบต่างๆในการทำลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และการทำข้าวเหรียบเห็ด
  2. ผู้เรียนทราบขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และข้าวเหรียบเห็ด
  3. ผู้เรียสามารถลงมือทำลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และข้าวเหรียบเห็ดได้
  4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเป็นแนวทางเพื่อต่อยอดเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

28. การแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ) และการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)

วันที่ 29 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด : หลักการเลือกซื้อวัตถุดิบ ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ วิธีการแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)
  2. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด : การเลือกซื้อวัตถุดิบ ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ วิธีการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงหลักการเลือกซื้อวัตถุดิบ ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ วิธีการแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)
  2. ผู้เรียนทราบถึงหลักการเลือกซื้อวัตถุดิบ ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ วิธีการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ)
  3. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาเป็นธุรกิจของตนเองได้

 

40 0

29. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

วันที่ 26 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การเตรียมวัสดุเพาะ การปลูกเชื้อเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)”
  2. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)
  3. ฟังการบรรยาย เรื่อง “ขั้นตอนการเตรียมวัสดุเพาะและวิธีการเพาะเห็ดเห็ดฟาง แบบกอง”
  4. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดเห็ดฟาง แบบกอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอน กระบวนการ การเตรียมวัสดุเพาะ การปลูกเชื้อเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)”
  2. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว) ได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอน กระบวนการ การเตรียมวัสดุเพาะ และวิธีการเพาะเห็ดเห็ดฟาง (แบบกอง)
  4. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดฟาง (แบบกอง) ได้

 

40 0

30. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

วันที่ 26 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การเตรียมวัสดุเพาะ การปลูกเชื้อเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)”
  2. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)
  3. ฟังการบรรยาย เรื่อง “ขั้นตอนการเตรียมวัสดุเพาะและวิธีการเพาะเห็ดเห็ดฟาง แบบกอง”
  4. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดเห็ดฟาง แบบกอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอน กระบวนการ การเตรียมวัสดุเพาะ การปลูกเชื้อเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว)”
  2. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดโคนน้อย (เห็ดถั่ว) ได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอน กระบวนการ การเตรียมวัสดุเพาะ และวิธีการเพาะเห็ดเห็ดฟาง (แบบกอง)
  4. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดฟาง (แบบกอง) ได้

 

40 0

31. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

วันที่ 27 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง “ขั้นตอนการเตรียมวัสดุเพาะ และวิธีการเพาะเห็ดฮังการี”
  2. ฝึกปฏิบัติการเตรียมวัสดุเพาะเห็ดฮังการี
  3. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การปลูกเชื้อเห็ดฮังการี”
  4. ฝึกปฏิบัติการปลูกเชื้อเห็ดฮังการี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการเตรียมวัสดุเพาะ และวิธีการเพาะเห็ดฮังการี และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจ และอาชีพเสริมในอนาคตได้
  2. ผู้เรียนสามารถเตรียมวัสดุเพาะเห็ดฮังการีได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการปลูกเชื้อเห็ดฮังการี
  4. ผู้เรียนสามารถปลูกเชื้อเห็ดฮังการีได้ และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจ และอาชีพเสริมในอนาคตได้

 

40 0

32. การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติ การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้าภูฐาน เห็ดนางรมเทา
  • ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติ การจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถทราบถึงขั้นตอนการทำก้อนเห็ด การนึ่ง เห็ดนางฟ้าภูฐาน
  2. ผู้เรียนสามารถทราบถึงขั้นตอนการทำก้อนเห็ด การนึ่ง เห็ดนางรมเทา
  3. ผู้เรียนทราบถึงระบบการจัดการโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management) และการจัดการสภาพแวดล้อม
  4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้

 

40 0

33. การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ

วันที่ 3 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้าภูฐาน เห็ดนางรมเทา
  2. ฟังการบรรยายวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) การตัดแต่ง บรรจุภัณฑ์ เห็ดชนิดต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติเทคนิคการปลูกเชื้อเห็ด การบรรจุก้อนเห็ดนางฟ้าภูฐาน
  2. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติเทคนิคการปลูกเชื้อเห็ด การบรรจุก้อนเห็ดนางรมเทา
  3. ผู้เรียนทราบขั้นตอนวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) การตัดแต่ง บรรจุภัณฑ์ เห็ดชนิดต่างๆ
  4. ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้

 

40 0

34. การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ

วันที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management)
  2. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology)
  3. ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด : แหนมเห็ด และ เห็ดทอดกระเทียม
  4. ฝึกปฏิบัติการทำแหนมเห็ด
  5. ฝึกปฏิบัติการทำเห็ดทอดกระเทียม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงหลักการ ขั้นตอน การทำโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management) และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้
  2. ผู้เรียนทราบถึงหลักการ กระบวนการเทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) และสามารถนำไปต่อยอดเป็นธุรกิจได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงหลักการ ขั้นตอนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเห็ด : แหนมเห็ด และ เห็ดทอดกระเทียม
  4. ผู้เรียนสามารถทำแหนมเห็ด และสามารถนำสูตรที่ได้ศึกษาไปต่อยอดเป็นอาชีพได้
  5. ผู้เรียนสามารถทำทำเห็ดทอดกระเทียม และสามารถนำสูตรที่ได้ศึกษาไปต่อยอดเป็นอาชีพได้

 

40 0

35. การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง “ขั้นตอนการเตรียมก้อนเห็ดหอม,การจัดการโรงเรียนเห็ดหอม, การเพาะเห็ดหอม”
  2. ฝึกปฏิบัติการเตรียมก้อนเห็ดหอม , การเพาะเห็ดหอม
  3. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การตัดแต่งเห็ดหอม, บรรจุภัณฑ์เห็ดหอม การตลาดและการรแปรรูปเห็ดหอม”
  4. ฝึกปฏิบัติการเก็บเห็ดหอม การตัดแต่งเห็ดหอม บรรจุภัณฑ์เห็ดหอม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึงขั้นตอนการเตรียมก้อนเห็ดหอม, การจัดการโรงเรียนเห็ดหอม, การเพาะเห็ดหอม และสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นธุรกิจได้
  2. ผู้เรียนสามารถฝึกปฏิบัติdkiเตรียมก้อนเห็ดหอม, การเพาะเห็ดหอม ได้
  3. ผู้เรียนทราบถึงวิธีการตัดแต่งเห็ดหอม, บรรจุภัณฑ์เห็ดหอม การตลาด และการรแปรรูปเห็ดหอม และสามารถนำไปต่อยอดธุรกกิจได้
  4. ผู้เรียนสามรถฝึกปฏิบัติการตัดแต่งเห็ดหอม, บรรจุภัณฑ์เห็ดหอม ได้

 

40 0

36. การเพาะเห็ดเป็นยา เห็ดฟาง และเห็ดขอนไม้

วันที่ 17 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การเพาะเห็ดเป็นยา ได้แก่ เห็ดถังเช่า เห็ดหลินจือ”
  2. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถั่งเช่า
  3. ฟังการบรรยายการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
  4. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
  5. ฟังการบรรยาย เรื่อง “การเพาะเห็ดแบบขอนไม้ ได้แก่ เห็ดลม และเห็ดขอนขาว”
  6. ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดแบบขอนไม้ ได้แก่ เห็ดลม และเห็ดขอนขาว”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เรียนทราบถึง ขั้นตอน กระบวนการ การเพาะเห็ดถังเช่า การเพาะเห็ดหลินจือ
  2. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดถั่งเช่าได้
  3. ผู้เรียนทราบถึง ขั้นตอน กระบวนการ การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
  4. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดฟางในตะกร้าได้
  5. ผู้เรียนทราบถึง ขั้นตอน กระบวนการ การเพาะเห็ดแบบขอนไม้ ได้แก่ เห็ดลม และเห็ดขอนขาว
  6. ผู้เรียนสามารถเพาะเห็ดแบบขอนไม้ ได้แก่ เห็ดลม และเห็ดขอนขาว

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิทยาศาสตร์ของเห็ด (2) การผลิตหัวเชื้อเห็ด และวัสดุเพาะเห็ด (Mushroom spawn production) (3) เทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology) และการผลิตหัวเชื้อเห็ด (4) การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ (5) การจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management) (6) เทคโนโลยีผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) (7) กลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) (8) กลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) (9) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (10) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (11) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (12) ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (13) การเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้ (14) วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) (15) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (16) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (17) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (18) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (19) มาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry) (20) การเพาะเห็ดเป็นยา (21) การเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning) (22) การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology) (23) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (24) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (25) การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology) (26) การแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Products Developing Technology) (27) ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด (28) ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติวิทยาศาสตร์ของเห็ด (29) ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด และวัสดุเพาะเห็ด (Mushroom spawn production) (30) ฟังการบรรยายเทคโนโลยีการจัดการศัตรูเห็ด (Pest Management Technology) และฝึกปฏิบัติการผลิตหัวเชื้อเห็ด (31) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดลม เป็นต้น (32) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น (33) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการจัดการสภาพแวดล้อม และโรงเรือนเห็ดอัจฉริยะ (Smart mushroom environment management) (34) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) (35) ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) (36) ฟังการบรรยายกลยุทธ์การตลาดเกษตร (Agricultural Marketing Strategies) เห็ดหลินจือ (37) การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ (38) การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ (39) การดูแลก้อนเห็ดถุงชนิดต่าง ๆ (40) การดูแลก้อนเชื้อเห็ดถุงชนิดต่างๆ (41) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดฟาง เห็ดถั่ว และการเพาะเห็ดแบบขอนไม้ (42) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวเห็ดชนิดต่างๆ (43) ศึกษาดูฟาร์มเห็ด (44) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ด (45) ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น (46) กษาค้นคว้าด้วยตัวเอง : การดูแลเห็ดนางฟ้า เห็ดนางรมเทา เห็ดฟาง เห็ดนางรมฮังการี และเห็ดขอนไม้ เป็นต้น (47) ฟังการบรรยายและฝึกปฏิบัติมาตรฐานและข้อกำหนดทางอุตสาหกรรมการเกษตร (Standards and Specifications of Agricultural Industry) (48) ฟังการบรยยายและฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดเป็นยา ได้แก่ เห็ดถังเช่า เป็นต้น (49) ฟังการบรรยายการเขียนแผนธุรกิจ (Business Planning) (50) การแปรรูปไส้อั่วจากเห็ด (51) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (52) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (53) การผลิตผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นหมูผสมเห็ดนางฟ้า และ การผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบเห็ด (54) การแปรรูปซาลาเปาไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ) และการแปรรูปขนมจีบไส้เห็ด 3 สหาย (เห็ดหอม เห็ดชิเมจิ เห็ดออรินจิ) (55) การศึกษาดูงานสถานประกอบการ (56) การศึกษาดูงานสถานประกอบการ (57) การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ ได้แก่ เห็ดนางฟ้า เห็ดนางรม เป็นต้น (58) การเพาะเห็ดถุงชนิดต่างๆ (59) การศึกษาดูงานฟาร์มเห็ดเกษตรอัจฉริยะ (60) การศึกษาดูงานสถานประกอบการ (61) การเพาะเห็ดเป็นยา เห็ดฟาง และเห็ดขอนไม้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เทคโนโลยีการผลิตเห็ดเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart economy mushroom production technology) จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0037

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด