แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
“ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0025 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ
บทคัดย่อ
โครงการ " นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN66/0025 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปฐมนิเทศนักศึกษาและชี้แจงรายละเอียดของหลักสูตรและแนะนำอาจารย์ผู้สอน
- การจัดการสุขภาพสัตว์ในการในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
- การคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี
- การจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
- การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล
- การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง
- การทำการตลาดและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
- การทำแผนธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง BMC
- การสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ และการสร้างตารางสินค้า
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากโคแบบสากล และแปรรูปผลิตภัณฑ์
- การแปรรูปเนื้อและชิ้นส่วนเป็นผลิตภัณฑ์
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อพร้อมปรุง (ready to cook) และพร้อมบริโภค (ready to eat)
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล
- การทำธุรกิจ คน ของ ตลาดโมเดล
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล รุ่นที่2
- การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด
- การปัจฉิมนิเทศและมอบประกาศนียบัตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปฐมนิเทศนักศึกษาและชี้แจงรายละเอียดของหลักสูตรและแนะนำอาจารย์ผู้สอน
วันที่ 20 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมปฐมนิเทศและต้อนรับนักศึกษา
- กิจกรรมกล่าวต้อนรับและปฐมนิเทศ
- กิจกรรมผู้บริหารพบปะนักศึกษา
- กิจกรรมการแนะนำตัวและชี้แจงรายวิชาและตารางเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมปฐมนิเทศและต้อนรับนักศึกษา
- กิจกรรมกล่าวต้อนรับและปฐมนิเทศ
- กิจกรรมผู้บริหารพบปะนักศึกษา
- กิจกรรมการแนะนำตัวและชี้แจงรายวิชาและตารางเรียน
40
0
2. การจัดการสุขภาพสัตว์ในการในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
วันที่ 21 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการสุขภาพสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง เป็นจัดการเรียนสอนที่มีทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดการสุขภาพสัตว์ในระบบการผลิตสัตว์เนื้อ และเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติการในการจัดการสุขภาพสัตว์จริงในฟาร์ม นอกจากนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูงที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาในส่วนทฤษฎีคือ
1. พื้นฐานด้านสุขภาพสัตว์
2. การจัดการป้องกันโรค เช่นการป้องกันและควบคุมโรคที่พบบ่อยในสัตว์เนื้อ การให้วัคซีนและการบริหารจัดการยาสัตว์ และ ระบบการจัดการฟาร์มเพื่อลดความเสี่ยงในการระบาดของโรค
3. หลักการจัดการฟาร์มที่สอดคล้องกับมาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์ การจัดการพื้นที่เลี้ยงสัตว์และความสะอาดในโรงเรือน และการส่งเสริมสุขภาพสัตว์เพื่อลดความเครียดและเพิ่มผลผลิต
กิจกรรมการเรียนการสอนในส่วนปฏิบัติ
1. ฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง เช่นการการวิเคราะห์สุขภาพสัตว์ และการตรวจร่างกายเบื้องต้น ตลอดจน การฝึกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง เช่น การฉีดยา และการใช้ยาในสัตว์
2. การนำผู้เรียนไปศึกษาในฟาร์มจริงด้านการจัดการฟาร์มเพื่อลดโรคในสัตว์ เช่น การฆ่าเชื้อโรงเรือน การจัดการอาหารและน้ำสะอาด และการตรวจประเมินสุขภาพสัตว์ประจำวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
3. การคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการด้านพันธุศาสตร์และลักษณะทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเนื้อคุณภาพดีในโคและแพะ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับการผลิตเนื้อในบริบทของสภาพภูมิศาสตร์และตลาด นอกจากนั้นเพื่อพัฒนาทักษะเชิงปฏิบัติในการประเมินและคัดเลือกลักษณะพันธุกรรมและกายภาพของสัตว์ โดยมีเนื้อหาเนื้อหาหลักในส่วนทฤษฎี
1. พื้นฐานพันธุศาสตร์และพันธุกรรมสัตว์ เช่น ความเข้าใจเกี่ยวกับยีนและลักษณะเด่น-ลักษณะด้อยในสายพันธุ์โคและแพะ ความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับคุณภาพเนื้อ เช่น การเติบโตเร็ว (Growth Rate) การสะสมไขมันระหว่างกล้ามเนื้อ (Marbling) ความนุ่มของเนื้อ (Tenderness)
2. ลักษณะสำคัญสำหรับการผลิตเนื้อคุณภาพดี เช่น ลักษณะกายภาพที่พึงประสงค์ เช่น โครงสร้างร่างกาย (Body Conformation) ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อ (Muscle Mass) ความหนาแน่นและปริมาณไขมันในเนื้อ (Fat Density) พฤติกรรมและสุขภาพที่ส่งผลต่อคุณภาพเนื้อ เช่น อัตราการกินอาหาร (Feed Conversion Ratio) และความต้านทานโรค
3. การปรับปรุงพันธุกรรม (Genetic Improvement) เช่น การคัดเลือกสายพันธุ์โคและแพะในพื้นที่ การใช้เทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ เช่น การตรวจสอบดีเอ็นเอ (DNA Testing) และการผสมเทียม (Artificial Insemination)
4. ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพเนื้อจากพันธุกรรมสู่การเลี้ยงดู เช่น การเลี้ยงดูที่เหมาะสมกับสายพันธุ์ และ ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมและอาหารต่อการแสดงออกของลักษณะพันธุกรรม
กิจกรรมในส่วนปฏิบัติการ เป็นการประเมินลักษณะโคและแพะในฟาร์มจริง โดยการตรวจสอบโครงสร้างร่างกายและกล้ามเนื้อ และการประเมินคะแนนความสมบูรณ์ของร่างกาย (Body Condition Score - BCS)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
4. การจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพดี เน้นการเรียนการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารสัตว์ โดยมีวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับโคและแพะในการผลิตเนื้อคุณภาพดี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการให้อาหารสัตว์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางโภชนาการในแต่ละช่วงอายุและสถานะการผลิต และเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติการในการจัดการและประเมินคุณภาพอาหารสัตว์ ในเนื้อหาในส่วนทฤษฎี เช่น 1. พื้นฐานโภชนาการสัตว์ ด้านองค์ประกอบของอาหารสัตว์: คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ ความต้องการทางโภชนาการของโคและแพะในช่วงการเติบโตและการผลิตเนื้อ ระบบการย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้องและการเปลี่ยนแปลงอาหารเป็นพลังงาน
การคัดเลือกและการเตรียมวัตถุดิบอาหารสัตว์
- การเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ เช่น หญ้าแห้ง ข้าวโพดบด มันสำปะหลัง และกากถั่วเหลือง
- การใช้แหล่งอาหารท้องถิ่น เช่น การนำเศษเหลือจากการเกษตร (เช่น เปลือกทุเรียน) มาผสมในอาหารสัตว์
- การประเมินคุณค่าทางโภชนาการของวัตถุดิบ
การปรุงและการจัดเก็บอาหารสัตว์
- การผสมอาหารแบบ Total Mixed Ration (TMR) เพื่อความสมดุลทางโภชนาการ
- การเก็บรักษาอาหารสัตว์ เช่น การทำหญ้าหมัก (Silage) และการป้องกันเชื้อราในอาหาร
การวางแผนการให้อาหารสัตว์
- การคำนวณสูตรอาหารตามความต้องการของสัตว์ในแต่ละช่วงอายุ
- การวางแผนการให้อาหารในรูปแบบประจำวันและระยะยาว
- ผลกระทบของโภชนาการต่อคุณภาพเนื้อ เช่น การเพิ่มระดับไขมันแทรกเนื้อ (Marbling)
กิจกรรมในส่วนปฏิบัติ
การประเมินคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์**
- ฝึกวิเคราะห์องค์ประกอบอาหารสัตว์ด้วยเครื่องมือ เช่น เครื่องวัดความชื้น หรือการทดสอบค่าโปรตีน
- การใช้ตารางโภชนาการเพื่อประเมินพลังงานและโปรตีนในวัตถุดิบ
การผสมอาหารสัตว์
- ฝึกผสมอาหารแบบ TMR โดยใช้วัตถุดิบต่าง ๆ เพื่อให้ได้สูตรที่เหมาะสม
- การทดลองให้อาหารสัตว์ที่แตกต่างกันและสังเกตผลต่อการเติบโต
การจัดการอาหารในฟาร์มจริง
- การให้อาหารสัตว์ในช่วงเวลาที่เหมาะสมและสังเกตพฤติกรรมการกินอาหาร
- การจัดเก็บและจัดการอาหารสัตว์เพื่อลดการสูญเสียและเพิ่มประสิทธิภาพ
การติดตามผลและปรับปรุงแผนโภชนาการ
- การชั่งน้ำหนักและติดตามอัตราการเติบโตของสัตว์
- การวิเคราะห์ความคุ้มค่าในด้านต้นทุนอาหารสัตว์และผลผลิต
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง
- ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักโภชนาการสัตว์และสามารถนำไปใช้ได้จริง
- ผู้เรียนสามารถวางแผนและปรับปรุงสูตรอาหารสัตว์ให้เหมาะสมกับการผลิตเนื้อคุณภาพดี
- ผู้เรียนสามารถจัดการอาหารสัตว์ในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดต้นทุน
- ผู้เรียนตระหนักถึงความสำคัญของการใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
5. การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล
วันที่ 9 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
6. การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง
วันที่ 23 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
7. การทำการตลาดและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
วันที่ 30 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
8. การทำแผนธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง BMC
วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
9. การสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ และการสร้างตารางสินค้า
วันที่ 20 เมษายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
10. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากโคแบบสากล และแปรรูปผลิตภัณฑ์
วันที่ 4 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
11. การแปรรูปเนื้อและชิ้นส่วนเป็นผลิตภัณฑ์
วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
12. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อพร้อมปรุง (ready to cook) และพร้อมบริโภค (ready to eat)
วันที่ 18 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
13. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล
วันที่ 25 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
14. การทำธุรกิจ คน ของ ตลาดโมเดล
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
15. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล รุ่นที่2
วันที่ 8 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
16. การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด
วันที่ 15 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
40
0
17. การปัจฉิมนิเทศและมอบประกาศนียบัตร
วันที่ 21 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0025
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
“ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0025 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ
บทคัดย่อ
โครงการ " นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN66/0025 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปฐมนิเทศนักศึกษาและชี้แจงรายละเอียดของหลักสูตรและแนะนำอาจารย์ผู้สอน
- การจัดการสุขภาพสัตว์ในการในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
- การคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี
- การจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง
- การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล
- การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง
- การทำการตลาดและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
- การทำแผนธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง BMC
- การสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ และการสร้างตารางสินค้า
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากโคแบบสากล และแปรรูปผลิตภัณฑ์
- การแปรรูปเนื้อและชิ้นส่วนเป็นผลิตภัณฑ์
- การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อพร้อมปรุง (ready to cook) และพร้อมบริโภค (ready to eat)
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล
- การทำธุรกิจ คน ของ ตลาดโมเดล
- การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล รุ่นที่2
- การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด
- การปัจฉิมนิเทศและมอบประกาศนียบัตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปฐมนิเทศนักศึกษาและชี้แจงรายละเอียดของหลักสูตรและแนะนำอาจารย์ผู้สอน |
||
วันที่ 20 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมปฐมนิเทศและต้อนรับนักศึกษา - กิจกรรมกล่าวต้อนรับและปฐมนิเทศ - กิจกรรมผู้บริหารพบปะนักศึกษา - กิจกรรมการแนะนำตัวและชี้แจงรายวิชาและตารางเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมปฐมนิเทศและต้อนรับนักศึกษา - กิจกรรมกล่าวต้อนรับและปฐมนิเทศ - กิจกรรมผู้บริหารพบปะนักศึกษา - กิจกรรมการแนะนำตัวและชี้แจงรายวิชาและตารางเรียน
|
40 | 0 |
2. การจัดการสุขภาพสัตว์ในการในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง |
||
วันที่ 21 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการสุขภาพสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง เป็นจัดการเรียนสอนที่มีทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดการสุขภาพสัตว์ในระบบการผลิตสัตว์เนื้อ และเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติการในการจัดการสุขภาพสัตว์จริงในฟาร์ม นอกจากนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูงที่ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาในส่วนทฤษฎีคือ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
3. การคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการคัดเลือกลักษณะและพันุกรรมของโคและแพะที่สามารถผลิตเนื้อคุณภาพดี เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการด้านพันธุศาสตร์และลักษณะทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเนื้อคุณภาพดีในโคและแพะ และเพื่อให้ผู้เรียนสามารถคัดเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับการผลิตเนื้อในบริบทของสภาพภูมิศาสตร์และตลาด นอกจากนั้นเพื่อพัฒนาทักษะเชิงปฏิบัติในการประเมินและคัดเลือกลักษณะพันธุกรรมและกายภาพของสัตว์ โดยมีเนื้อหาเนื้อหาหลักในส่วนทฤษฎี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
4. การจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพสูง |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการอาหารสัตว์ในการผลิตสัตว์เนื้อคุณภาพดี เน้นการเรียนการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการจัดการอาหารสัตว์ โดยมีวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับโคและแพะในการผลิตเนื้อคุณภาพดี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนการให้อาหารสัตว์ที่สอดคล้องกับความต้องการทางโภชนาการในแต่ละช่วงอายุและสถานะการผลิต และเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติการในการจัดการและประเมินคุณภาพอาหารสัตว์ ในเนื้อหาในส่วนทฤษฎี เช่น 1. พื้นฐานโภชนาการสัตว์ ด้านองค์ประกอบของอาหารสัตว์: คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ ความต้องการทางโภชนาการของโคและแพะในช่วงการเติบโตและการผลิตเนื้อ ระบบการย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้องและการเปลี่ยนแปลงอาหารเป็นพลังงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
5. การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานฮาลาล |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
6. การเตรียมการขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
7. การทำการตลาดและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
8. การทำแผนธุรกิจสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูง BMC |
||
วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
9. การสร้างช่องทางการตลาดออนไลน์และออฟไลน์ และการสร้างตารางสินค้า |
||
วันที่ 20 เมษายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
10. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากโคแบบสากล และแปรรูปผลิตภัณฑ์ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
11. การแปรรูปเนื้อและชิ้นส่วนเป็นผลิตภัณฑ์ |
||
วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
12. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อพร้อมปรุง (ready to cook) และพร้อมบริโภค (ready to eat) |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
13. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
14. การทำธุรกิจ คน ของ ตลาดโมเดล |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
15. การตัดแต่งและแบ่งชิ้นส่วนซากแพะแบบสากล รุ่นที่2 |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
16. การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด |
||
วันที่ 15 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
40 | 0 |
17. การปัจฉิมนิเทศและมอบประกาศนียบัตร |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลิตภัณฑ์เนื้อโคและแพะคุณภาพสูงเพื่อการประกอบการ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0025
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......