แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
“ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0030 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators)
บทคัดย่อ
โครงการ " หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN66/0030 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- Hard Skills
- Coaching and Mentoring
- ประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและพิธีมอบประกาศนียบัตร
- Instructional Designer Skills
- Creation Skill
- SEO Skill
- Marketer Skill
- Tech & Tool Skill
- Coaching and Mentoring
- ประชุมวิชาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. Tech & Tool Skill
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) สำรวจความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งาน เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันเพื่อสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์
2) แนะนำเครื่องมือดิจิทัล โดยการแสดงตัวอย่างและสาธิตการใช้เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์
3) ปฏิบัติการติดตั้งแอปพลิเคชันตัดต่อวิดีโอลงบนคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน
4) ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง
5) ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์
- รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอ
6) ปฏิบัติการแปลงไฟล์วิดีโอ ส่งออกไฟล์ และการเผยแพร่ไฟล์วิดีโอบน Social Media ช่องทางต่าง ๆ
7) ปฏิบัติการพัฒนาสื่อการสอนสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่ได้ออกแบบไว้
คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม และรายบุคคลในสถานศึกษาและผ่านช่องทางออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถเลือกและประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานข องเครื่องมือพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอเพื่อสร้างวัตถุดิบและพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
42
0
2. Creation Skill
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
หลักสูตร
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์
(Creative teaching content creators) (รุ่นที่ 1)
ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา และคณะทำงาน
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
การดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ
เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย
ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree)
กลุ่มการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
งบสนับสนุนปีการศึกษา 2566
คำนำ
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์เป็นการดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ได้รับทุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการ Upskill ทักษะครู ให้มีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล
โดยผลการดำเนินงานกิจกรรมในครั้งนี้ มีครูเข้าร่วมหลักสูตรจำนวน 42 คน มีผู้ผ่านเกณฑ์ในระดับ“ดีมาก”จำนวน 22 คน ผ่านเกณฑ์ในระดับ “ดี” จำนวน 14 คน และไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 6 คน โดยมีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายสถาบันการศึกษาและหลากหลายสังกัด
คณะทำงานขอขอบคุณวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับสมรรถนะดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนให้เกิดขึ้นได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ขอบคุณคณาจารย์และบุคคลที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นที่สนับสนุนการดำเนินงาน ขอบคุณแหล่งทุนสนับสนุนที่เป็นกลไกการขับเคลื่อนหลักให้เกิดกิจกรรมนี้ อย่างไรก็ตามทีมคณะทำงานได้มีแผนการดำเนินงานติดตามลงพื้นที่สำรวจภายหลังที่โครงการได้สิ้นสุดลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงและขยายผลแก่กลุ่มครูในเครือข่ายเพื่อการพัฒนาครู และผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
คณะทำงาน
กุมภาพันธ์ 2567
สารบัญ
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป จ
สารบัญตาราง ช
1 รายละเอียดหลักสูตร 1
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย 1
1.2 ชื่อหลักสูตร 1
1.3 รุ่น 1
1.4 กลุ่มอุตสาหกรรม 1
1.5 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.2 อาจารย์ผู้สอน 1
1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ 2
1.7 การวิเคราะห์ SKILL MAPPING ของหลักสูตร 2
1.8 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่คาดหวัง 8
2 การจัดการเรียนการสอน 9
2.1 ผลการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 9
2.1.1 PLO1 ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 11
2.1.2 PLO2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล 20
2.2 วิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน 30
2.3 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36
2.4 ผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามผลลัพธ์การเรียนรู้ 37
2.4.1 ผลลัพธ์เชิงสมรรถนะ 37
2.4.2 ผลลัพธ์เชิงคุณลักษณะ 44
3 ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอน 49
3.1 ตารางแสดงรายชื่อสถานประกอบการ 49
3.2 ความคิดเห็นจากสถานประกอบการต่อคุณภาพบัณฑิต 50
3.2.1 ความคิดเห็น 50
3.2.2 ข้อเสนอแนะ 50
3.3 กระบวนการ PARTNERSHIP กับสถานประกอบการ 51
3.3.1 การหาสมรรถนะ/skill ที่ชัดเจน (Ready to work) 51
3.3.2 การจัดทำหลักสูตร 51
3.3.3 Co-Coach/Co-teach 53
3.3.4 การเรียนรู้ร่วมกันโดยการนำปัญหาของสถานประกอบการเป็นตัวตั้ง และร่วมกันแก้ปัญหา 54
3.3.5 กระบวนการติดตามและประเมินผลร่วมกัน 55
4 ผู้เรียน 58
4.1 จำนวนนักศึกษา 58
4.2 ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 63
4.3 ภาวะการมีงานทำ/ การปรับเปลี่ยนงาน 66
4.4 ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อผู้เรียน 66
5 การใช้จ่ายงบประมาณ 66
5.1 แหล่งงบประมาณ 66
5.2 การใช้จ่ายงบประมาณ 66
5.3 ปัญหา/อุปสรรคในการเบิกจ่ายงบประมาณ 68
5.4 ข้อเสนอแนะ 68
6 การขยายผลเพื่อความยั่งยืน 68
6.1 กลไกการพัฒนา (DEVELOPMENT) ของสถาบันอุดมศึกษาในระยะยาวเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนระบบ ECOSYSTEM การผลิตและพัฒนากำลังคนของสถาบันอุดมศึกษา 69
6.2 แนวทางการขยายผล / แนวคิดโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ ไปดำเนินการต่อ 70
6.3 ปัญหาและอุปสรรค 73
6.3.1 ปัจจัยภายใน 73
6.3.2 ปัจจัยภายนอก 73
6.4 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุง 73
6.4.1 ข้อเสนอแนะก่อนการออกแบบหลักสูตร 73
6.4.2 ข้อเสนอแนะระหว่างการดำเนินงาน 74
6.4.3 ข้อเสนอแนะเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม 74
สารบัญรูป
รูป 1 ผัง Skill Mapping ของหลักสูตร 4
รูป 2 การสร้างการรับรู้ผลลัพธ์การเรียนรู้ 10
รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน 13
รูป 4 Creation Skill การวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 15
รูป 5 SEO Skill สามารถเลือกใช้ Keyword เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล 16
รูป 6 Tech & Tool Skill การประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 18
รูป 7 Marketer Skill การสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์เพื่อการประกอบการ 19
รูป 8 Adaptability Skill การสังเคราะห์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับบริบทของเหตุการณ์ 21
รูป 9 Collaboration Skill การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานร่วมกัน 23
รูป 10 Creativity Skill การสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 25
รูป 11 Inspiration การสร้างแรงบัลดาลผ่านการนำเสนอผลงาน 27
รูป 12 Emotional Intelligence การรับมือสภาวะความกดดัน การสร้างพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 29
รูป 13 การสร้างผัง Mindmap การออกแบบการสร้างสื่อการสอนแบบดิจิทัลคอนเทนต์ 39
รูป 14 การออกแบบ Story Board 40
รูป 15 การออกแบบผลงานผ่าน Google Site 41
รูป 16 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการออกแบบคอนเทนต์ 42
รูป 17 การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 42
รูป 18 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการเตรียมและสร้างวัตถุดิบ (หลังเรียน) 43
รูป 19 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการตัดต่อคลิปวิดีโอ (หลังเรียน) 43
รูป 20 ตระหนักต่อการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ในสังคมหรือสถานการณ์ในปัจจุบัน 44
รูป 21 "เจตคติ" ที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และมี "ทักษะ" การทำงานเป็นทีม 45
รูป 22 "เจตคติ"ที่ดีต่อมุมมองของการสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนที่สร้างสรรค์ โดยมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 46
รูป 23"เจตคติ" ที่ดีในสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อสร้างแรงบันดาล 47
รูป 24 “เจตคติ" ที่ดีในการรับมือสภาวะความกดดัน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และการวิพากษ์วิจารณ์ผลงานอย่างสร้างสรรค์ 48
รูป 25 ระดับความรู้ ความเข้าใจและทักษะการสื่อสาร การทำงานร่วมกับผู้อื่น การนำเสนอและเผยแพร่อย่างมีจรรยาบรรณ (หลังเรียน) 49
รูป 26 Google Form เพื่อการมีส่วนร่วมกันในการออกแบบหลักสูตร 52
รูป 27 บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ณ โรงเรียนเครือข่าย 53
รูป 28 การติดตามผู้เรียนการแก้ไขปัญหา 54
รูป 29 การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ 55
รูป 30 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม 56
รูป 31 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม (ต่อ) 57
รูป 32 ผู้เรียนในหลักสูตร 60
รูป 33 กลไกการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาในระยะยาวเพื่อให้เกิดความยั่งยืน 69
รูป 34 การดำเนินงานของกลไก 70
รูป 35 แนวทางการขยายผล / แนวคิดโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ 71
รูป 36 แนวทางการขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนพุทธิโศภน 71
รูป 37 การขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนบ้านออนกลางไปยัง โรงเรียนเครือข่ายในพื้นที่อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 72
รูป 38 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานและหลักสูตร 75
สารบัญตาราง
ตาราง 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร 5
ตาราง 2 ภาพรวมทักษะและสมรรถนะที่ได้ของผู้เรียน 36
ตาราง 3 ประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36
ตาราง 4 ผู้เรียนจำแนกตามสถานที่ 58
ตาราง 5 รายละเอียดผู้เรียน 61
แบบรายงานผลการดำเนินการหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree)
1 รายละเอียดหลักสูตร
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
1.2 ชื่อหลักสูตร
ครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์
1.3 รุ่น
รุ่นที่ 1 ระยะเวลาการดำเนินการ 4 เดือน (ตุลาคม 2566 – มกราคม 2567)
1.4 กลุ่มอุตสาหกรรม
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
1.5 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1.5.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา โทรศัพท์ 0888159942 อีเมล thitima@feu.edu
ผศ.ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ โทรศัพท์ 089-2640250 อีเมล sarawut@feu.edu
1.5.2 อาจารย์ผู้สอน
ชื่ออาจารย์/ผู้รับผิดชอบ ความเชี่ยวชาญ อีเมล
ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา การออกแบบการเรียนการสอน วิชาชีพครู นวัตกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการ ชุมชนวิชาชีพแห่งการเรียนรู้ thitima@feu.edu
ผศ.ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ เทคโนโลยีดิจิทัล และการสร้างสรรค์ sarawut@feu.edu
อ.อังษณีภรณ์ ศรีคำสุข วิชาชีพครู aungsaneepon@feu.edu
อ.พิชัย เหลี่ยวเรืองรัตน์ วิศวกรรม pichai@feu.edu
ผศ.จันทร์จิตร เธียรสิริ การตลาดดิจิทัล junjit@feu.edu
อ.เจนจิรา ถาปินตา บัญชี การประสานงาน และการทำงานร่วมกับผู้อื่น janejira@feu.edu
1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ
⬜ Re-skill Up-skill ⬜ New Skill ⬜ อื่นๆ
1.7 การวิเคราะห์ Skill Mapping ของหลักสูตร
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 -2670) และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) มีเป้าหมายเพื่อพัฒนากําลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต ด้วยการพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่ โดยคนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ มีความสามารถในการสร้างและใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งการมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาส และความเป็นธรรม ด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการพัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบการศึกษาปกติ โดยกลยุทธ์การพัฒนาเพื่อให้คนไทยทุกได้รับการพัฒนาในทุกมิติ จำเป็นที่จะต้องมีการดำเนินงานดังนี้
1. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แนวใหม่และขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดการตนเอง มีความสามารถในการสื่อสาร และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และไม่หยุดที่จะเรียนรู้ มุ่งเน้นพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางหรือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และสื่อหรือแหล่งการเรียนรู้ที่เอื้อต่อโอกาสในการเข้าถึงการเรียนรู้สำหรับทุกคน (Learning for All) และขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติโดยนําร่องกับสถานศึกษาที่มีความพร้อม และมีมหาวิทยาลัยในพื้นที่สนับสนุน ความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ
2. การยกระดับการผลิตและพัฒนาครูทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ พัฒนาหลักสูตรการผลิตครูที่มีการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการและด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ มุ่งสู่การยกระดับครูสู่วิชาชีพชั้นสูง
3. การพัฒนาระบบสนับสนุนการเรียนรู้ โดย 1) การแก้ไขภาวะการถดถอยของความรู้ในวัยเรียน โดยสถานศึกษาพัฒนาแนวปฏิบัติและระบบสนับสนุนที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 2) การพัฒนาระบบแนะแนวให้มีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาครู และผู้ประกอบอาชีพแนะแนวให้สามารถร่วมวางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวิต ของผู้เรียนได้ตามความสนใจ ความถนัด 3) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ด้วย Big Data รองรับผู้เรียนทุกกลุ่มวัย รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษและเปราะบาง 4) พัฒนาสถานศึกษาและสร้างสังคมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยทั้งในสังคมจริง และสังคมเสมือน โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน ถึงแนวทางการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข บนหลักของการเคารพความหลากหลายทั้งทางความคิด มุมมองของคนระหว่างรุ่น และอัตลักษณ์ส่วนบุคคล เพื่อการวางอนาคตในการพัฒนาประเทศร่วมกัน
ซึ่งกลยุทธ์ดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2566 ในการส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบระดับสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้เป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล ในขณะเดียวกันผู้เรียนในปัจจุบันและอนาคตมีแนวโน้มของการเป็นผู้กำหนดความรู้และประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เลือกแหล่งเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตนเอง ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลาอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นอิสระผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรูปแบบต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือบุคคลทั่วไปในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น โดยในอนาคตการเติบโตของเทคโนโลยี และแพลตฟอร์มออนไลน์ จะทำให้ผู้เรียนยุคใหม่ต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ซึ่งเป็นที่มาของแนวคิดการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวทันและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะครูให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการสร้างรายวิชาหรือหน่วยการเรียรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรด้วยการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ที่ประกอบด้วยทักษะทักษะด้าน Hard Skill ได้แก่ Instructional Designer Skill Creation Skill SEO Skill Tech & Tool Skill Marketer Skill และทักษะด้าน Soft Skill ได้แก่ Adaptability Skill Collaboration Skill Creativity Skill แก่ครู ผู้สอนในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเชียงใหม่ (กศน.เชียงใหม่) และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ (ศธจ.เชียงใหม่) ภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 -2670) และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) และข้อกำหนดในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2566 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. พัฒนาทักษะและความเชี่ยวชาญด้านการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ผ่านแอปพลิเคชันและคอมพิวเตอร์ที่มีการประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน บริบทเชิงพื้นที่ และกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
2. พัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู ผ่านกระบวนการออกแบบเนื้อหาการสอนรายวิชาแบบหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรที่สามารถนำมาพัฒนาเป็นสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้
รูป 1 ผัง Skill Mapping ของหลักสูตร
โดยสามารถกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ (Program Learning Outcomes : PLO) ได้ดังนี้
1. PLO1. ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบและผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาสการประกอบอาชีพ และการสร้างรายได้แก่ตนเอง สถานศึกษาและชุมชน ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. PLO2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล
ตาราง 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร
Program Learning Outcomes
ขั้นพัฒนาการจากการเรียนรู้ของ Program Learning Outcomes ที่กำหนด (Sub-PLOs) ความสัมพันธ์ขั้นพัฒนาการของ
Sub-PLOs
ลำดับขั้น
(ขั้นที่) ทำแยก
แบบคู่ขนาน
PLO1. ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอน
เทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ Instructional Designer Skills
1. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สารสนเทศที่จะจำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม
2.ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนการสอนแบบโมดูลโดยบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอนได้อย่างเป็นระบบ
3.ผู้เรียนสามารถออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้อย่างสอดคล้อง เข้าใจ
สร้างสรรค์ ทำแบบคู่ขนาน
Creation Skill
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
2. ผู้เรียนสามารประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลขั้นพื้นฐานที่เป็นฐานความรู้ในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ ประยุกต์ใช้และ
วิเคราะห์ ทำแบบคู่ขนาน
SEO Skill
ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ Keyword เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล ความเข้าใจในการเขียนแฮชแท็ก การเรียนรู้ประสบการณ์ของผู้อ่าน เพื่อการเข้าถึงไปยังกลุ่มผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ ทำแบบคู่ขนาน
Tech & Tool Skill
1. ผู้เรียนสามารถพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
2. ผู้เรียนสามารถเลือกและประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประยุกต์ใช้ ทำแบบคู่ขนาน
Marketer Skill
1. ผู้เรียนสามารถสร้างเพจ บน Facebook และการสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube
2. ผู้เรียนสามารถ ประยุกต์ใช้สื่อการเรียนการสอนการที่ออกแบบและพัฒนาด้วยตนเอง เชื่อมโยงและเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มทางการศึกษาได้ ประยุกต์ใช้ ทำแบบคู่ขนาน
PLO2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล Adaptability Skill
1. ผู้เรียนมีความตระหนักต่อการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ในสังคมหรือสถานการณ์ในปัจจุบัน
2. ผู้เรียนสามารถสังเคราะห์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับบริบทของเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ในปัจจุบัน เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทได้ สังเคราะห์ ทำแบบคู่ขนาน
Collaboration Skill
1. ผู้เรียนมี "เจตคติ" ที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2. ผู้เรียนมี "ทักษะ" การทำงานเป็นทีม ประเมินค่า ทำแบบคู่ขนาน
Creativity Skill
1. ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ ผลงานสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning เพื่อจัดการเรียนการสอนอย่างที่สร้างสรรค์และมีคุณภาพ
2. ผู้เรียนมี "เจตคติ"ที่ดีต่อมุมมองของการสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนที่สร้างสรรค์ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สร้างสรรค์ ทำแบบคู่ขนาน
Inspiration
ผู้เรียนมี "เจตคติ" ที่ดีในสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจแก่ตนเองและผู้เรียน/ผู้อื่นได้ ประเมินค่า ทำแบบคู่ขนาน
Emotional Intelligence
ผู้เรียนมี "เจตคติ" ที่ดีในการรับมือสภาวะความกดดัน การสร้างพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การวิพากษ์วิจารณ์ผลงานอย่างสร้างสรรค์
ประเมินค่า ทำแบบคู่ขนาน
1.8 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่คาดหวัง
หลักสูตรสร้างครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) จึงเป็นการดำเนินงานที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ของประเทศไทยด้านการพัฒนากําลังคนสมรรถนะสูง มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาครู ผู้สอนในภายใต้สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเชียงใหม่ และ/หรือ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการ Upskill ด้านการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์และองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ทักษะด้าน Hard Skill
1) Instructional Designer Skills มีทักษะและความสามารถในการออกแบบการเรียนการสอน ได้แก่ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการออกแบบการเรียนการสอนแบบโมดูล (Modular-Based Education) และทักษะการบูรณาการเทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอน TPCK (12 ชั่วโมง)
2) Creation Skill มีความสามารถในออกแบบการผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่ได้รับผิดชอบอย่างสร้างสรรค์ การออกแบบ STORYTELLING CANVAS (6 ชั่วโมง)
3) SEO Skill มีความเข้าใจในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหา ให้กับดิจิทัลคอนเทนต์ที่ผลิตขึ้นมา เพื่อให้ผู้คนมีโอกาสเข้าถึงสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่สร้างมากขึ้น (6 ชั่วโมง)
4) Tech & Tool Skill มีทักษะด้านการใช้แอปพลิเคชันเพื่อการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่ประกอบด้วยงานเขียน การสร้างภาพกราฟิก และการตัดต่อวิดีโอ ที่ผลิตจากโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนและจากคอมพิวเตอร์ (24 ชั่วโมง)
5) Marketer Skill มีทักษะการตลาดดิจิทัล การมองเห็นโอกาสและช่องทางการสร้าง content เพื่อส่งเสริมการขาย การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ความรู้ เข้าใจ หลักการการขายและช่องทางการสร้างรายได้ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น Social Media Marketing เว็บไซต์ เป็นต้น
ทักษะด้านคุณลักษณะความเป็นครู
1) Adaptability Skill มีความสามารถในการปรับตัว การสร้าง content ให้ก้าวทันตามการเปลี่ยนแปลง เทรนด์การศึกษา และกระแส ทิศทาง แนวโน้มสถานการณ์ของโลกที่มีผลต่อการเรียนรู้และความสนใจของผู้เรียน
2) Collaboration Skill มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ผ่านความร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เข้าใจการทำงานของตนเอง และผู้อื่น สร้างและโฟกัสเป้าหมายร่วมกัน สร้างทีมด้วยความสามารถหรือจุดเด่นของครูในทีมอย่างจริงใจและสนับสนุนกัน สานสัมพันธ์ บทบาทการเป็นผู้นำที่ดี และเป็นผู้ตามที่มีวินัย
3) Creativity Skill มีความคิดสร้างสรรค์ ผลงานสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning เพื่อจัดการเรียนการสอนอย่างที่สร้างสรรค์และมีคุณภาพ และมีเจตคติที่ดีต่อมุมมองของการสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนที่สร้างสรรค์ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
4) Inspiration มีเจตคติที่ดีในสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อสร้างแรงบันดาลใจแก่ตนเองและผู้เรียน/ผู้อื่น
5) Emotional Intelligence มีความฉลาดทางอารมณ์ การสร้างพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และการวิพากษ์วิจารณ์ผลงานอย่างสร้างสรรค์
หลักสูตรมีความมุ่งหวังส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนบูรณาการและเชื่อมโยงความร่วมมือด้านการศึกษาฝึกอบรม และร่วมจัดการระบบการเรียนรู้ที่เป็นระบบเปิด และเข้าถึงง่าย สร้างบุคลากรให้มีศักยภาพสูงตามโลกสมัยใหม่ที่ครอบคลุมทั้งความสามารถในงาน ทักษะในการใช้ชีวิต สมรรถนะดิจิทัลเพื่อการประกอบอาชีพ การดำเนินชีวิตประจำวัน มีความสามารถในการบริหารตัวเองและการบริหารคนเพื่อนําทักษะของสมาชิกทีมที่หลากหลายผ่านการเรียนรู้ร่วมกันมาประสานพลังรวมกันเพื่อสามารถปฏิบัติงานได้อย่างสร้างสรรค์
2 การจัดการเรียนการสอน
2.1 ผลการดำเนินการจัดการเรียนการสอน
ในการดำเนินการได้เริ่มต้นจากการเปิดรับสมัครครูที่มีความสนใจในทักษะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบและผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล โดยการให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามผ่านเว็บไซต์ของโครงการ https://sites.google.com/feu.edu/content-creator-project/ โดยได้ข้อสรุปดังนี้
เนื้อหา ความต้องการ
การออกแบบโครงสร้างเนื้อหาการสอนแบบแผนที่ความคิด Mind Map 4.16
การแผนการสร้างสื่อการสอนความยาวไม่เกิน 5 นาที 4.44
การตั้ง Keyword และแฮชแท็ก เพื่อการสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต 3.93
เทคนิคและกระบวนการตัดต่อคลิปวิดีโอ 4.65
การสร้างเพจใน Facebook และการสร้างช่อง Youtube 4.57
รูป 2 การสร้างการรับรู้ผลลัพธ์การเรียนรู้
2.1.1 PLO1 ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2.1.1.1 sPLO1. Instructional Designer Skills
sPLO วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนรู้
Instructional Designer Skills
1. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สารสนเทศที่จะจำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม
2.ผู้เรียนสามารถออกแบบการเรียนการสอนแบบโมดูลโดยบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอนได้อย่างเป็นระบบ
3.ผู้เรียนสามารถออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้อย่างสอดคล้อง • Active Learning
• การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนโดยมีทั้งเพื่อนร่วมชั้นเรียน(Peer) และอาจารย์ร่วมวิพากษ์
• การระดมความคิดเห็น
• การจัดการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐาน
• การจัดการเรียนรู้โดยการใช้การสืบค้นเป็นฐาน (inquiry-based learning)
• Coaching and Mentoring
1) สำรวจความคิดเห็น ปัญหา และสภาพการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลที่ต้องการได้เรียนรู้จากหลักสูตร
2) สำรวจความรู้และความเข้าใจของครูเกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนยุคดิจิทัลโดยใช้ Mentimeter ในประเด็นดังนี้
• เทรนด์การเรียนรู้ใหม่ของคนยุคดิจิทัลเป็นอย่างไร
• การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลควรเป็นอย่างไร
• แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง
3) จัดการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนและสื่อในยุคดิจิทัลให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านประสบการณ์ ในประเด็นดังนี้
• สมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้มีอะไรบ้าง
• บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
• เนื้อหาการเรียนรู้ที่น่าสนใจในยุคดิจิทัล
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
4) ปฏิบัติการวิเคราะห์สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความจำเป็น การวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนการสอน และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
5) ปฏิบัติการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาที่ตนเองรับผิดชอบสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรและรายวิชา เพื่อการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม และกระบวนการสื่อสาร
6) ปฏิบัติการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกบูรณาการการใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอน (TPCK)
7) ปฏิบัติการออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบโมดูล (Modular-Based Education) ในรายวิชาหรือเนื้อหาสาระที่จะนำมาจัดการเรียนการสอน
คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม และรายบุคคลในสถานศึกษาและผ่านช่องทางออนไลน์
รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน
sPLO วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนรู้
Creation Skill
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
2. ผู้เรียนสามารประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลขั้นพื้นฐานที่เป็นฐานความรู้ในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ • Active Learning
• การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนโดยมีทั้งเพื่อนร่วมชั้นเรียน(Peer) และอาจารย์ร่วมวิพากษ์
• การระดมความคิดเห็น
• การจัดการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงออกแบบเป็นฐาน
• Coaching and Mentoring 1) อภิ??
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนที่มีการออกแบบอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ในระดับภาพรวมกึ่งรายละเอียดได้ดี และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยมีการพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ผ่านแนวคิดการเล่าเรื่อง (Storytelling) และหลักการของ Story Board
ปฏิบัติการประยุกต์ใช้ Story Board ในการออกแบบการผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์
42
0
3. Instructional Designer Skills
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) สำรวจความคิดเห็น ปัญหา และสภาพการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลที่ต้องการได้เรียนรู้จากหลักสูตร
2) สำรวจความรู้และความเข้าใจของครูเกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนยุคดิจิทัลโดยใช้ Mentimeter ในประเด็นดังนี้
• เทรนด์การเรียนรู้ใหม่ของคนยุคดิจิทัลเป็นอย่างไร
• การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลควรเป็นอย่างไร
• แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง
3) จัดการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนและสื่อในยุคดิจิทัลให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านประสบการณ์ ในประเด็นดังนี้
• สมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้มีอะไรบ้าง
• บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
• เนื้อหาการเรียนรู้ที่น่าสนใจในยุคดิจิทัล
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
4) ปฏิบัติการวิเคราะห์สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความจำเป็น การวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนการสอน และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
5) ปฏิบัติการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาที่ตนเองรับผิดชอบสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรและรายวิชา เพื่อการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม และกระบวนการสื่อสาร
6) ปฏิบัติการออกแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกบูรณาการการใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอน (TPCK)
7) ปฏิบัติการออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบโมดูล (Modular-Based Education) ในรายวิชาหรือเนื้อหาสาระที่จะนำมาจัดการเรียนการสอน
คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม และรายบุคคลในสถานศึกษาและผ่านช่องทางออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ทำให้สามารออกแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอนได้อย่างเป็นระบบ ตลอดจนออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ โดยการวิเคราะห์สารสนเทศและกิจกรรมการเรียนการสอนในการสร้างเนื้อหา (content) ของผู้เรียนที่เข้าร่วมมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายที่จะเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ โดยผู้เรียนมีสมรรถนะการวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ดังนี้
1) สามารถวิเคราะห์สารสนเทศ หลักการเรียนรู้ โดยวิเคราะห์บทเรียนหลักการและเนื้อหาที่สำคัญที่ผู้เรียนควรทราบ ข้อมูลสำคัญและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยง ที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่กำลังจะสอน
2) ออกแบบแผนการสอนที่มีขั้นตอนเป็นลำดับ จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจน และวิธีการประเมินผลการเรียน
3) คัดเลือก/ระบุสื่อประกอบการเรียนภาพ วิดีโอ แผนภูมิ แผนผัง สื่อต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย และเชื่อมโยง
4) ออกแบบกิจกรรมที่สนุกสนานและเข้ากับจุดประสงค์ของการเรียน กิจกรรมที่สามารถกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และการทำงานร่วมกัน
5) ออกแบบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เช่น การใช้แพลตฟอร์มการเรียนออนไลน์ แอปพลิเคชัน หรือเครื่องมือที่ทันสมัย น่าสนใจ
ทั้งนี้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการวิเคราะห์สารสนเทศและการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม มีการนำเสนอสารสนเทศและกิจกรรมการเรียนการสอนที่ออกแบบโดยการสร้างผัง Mindmap
42
0
4. SEO Skill
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) การศึกษาเทคนิคการใช้ Hashtag บน Social Media ช่องทางต่าง ๆ
2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมการสร้างสรรค์#Hashtag
3) ปฏิบัติการสร้าง Keyword ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการสอนหรือสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อให้เข้าถึงการสืบค้นที่รวดเร็ว
4) ปฏิบัติการตั้งค่าองค์ประกอบของเนื้อหาเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหา และการเข้าถึงสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์
สะท้อนการจัดการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสร้าง Keyword ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการสอนหรือสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อให้เข้าถึงการสืบค้นที่รวดเร็ว และมีการนำเสนอที่สะท้อนถึงการมีลำดับขั้นตอนในการได้มาซึ่ง Keyword ที่คาดว่าจะตรงกับความต้องการสืบค้นของกลุ่มผู้เรียน
42
0
5. Marketer Skill
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1) วิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ
2) ศึกษาและเรียนรู้การตลาดดิจิทัลพื้นฐานเพื่อสร้างรายได้และอาชีพแก่ตนเอง สถานศึกษา ผู้เรียน และชุมชน
3) สืบค้น และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้
4) ปฏิบัติการสร้างเพจ บน Facebook และการสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube
5) คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ (Google Meet)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนวิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้ และสามารถสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube และ google site โดยประยุกต์ใช้สื่อการเรียนการสอนการที่ออกแบบและพัฒนาด้วยตนเอง เชื่อมโยงและเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มทางการศึกษาได้
42
0
6. Coaching and Mentoring
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
หลักสูตรได้มีการดำเนินงานร่วมกับสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านออนกลาง โรงเรียนพุทธิโศภน อำเภอเมืองเชียงใหม่ โรงเรียนวัดศรีบุญเรือง สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่อาย และสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ความร่วมมือทำให้เกิดการขยายผลการจัดกิจกรรมไปยังเครือข่ายสถานศึกษาส่งผลให้เกิดจำนวนการ Upskill ของครูที่มากขึ้น
กระบวนการติดตามและการประเมินผลร่วมกัน โดยใช้กระบวนการ Coaching เป็นเครื่องมือ โดยจะมีการติดตามในชั้นเรียนและลงสำรวจพื้นที่รายโรงเรียนเป้าหมาย 2 รูปแบบได้แก่ ติดตามด้วยระบบออนไลน์ผ่าน Google Meet และติดตามในพื้นที่ของโรงเรียน
การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ Google Meet
การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา ได้แก่
1) โรงเรียนบ้านออนกลาง อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
2) โรงเรียนพุทธิโศภน อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
3) โรงเรียนวัดศรีบุญเรือง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่
4) สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
5) สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
42
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0030
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
“ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0030 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators)
บทคัดย่อ
โครงการ " หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN66/0030 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- Hard Skills
- Coaching and Mentoring
- ประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานและพิธีมอบประกาศนียบัตร
- Instructional Designer Skills
- Creation Skill
- SEO Skill
- Marketer Skill
- Tech & Tool Skill
- Coaching and Mentoring
- ประชุมวิชาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. Tech & Tool Skill |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) สำรวจความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งาน เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันเพื่อสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 2) แนะนำเครื่องมือดิจิทัล โดยการแสดงตัวอย่างและสาธิตการใช้เครื่องมือดิจิทัลและแอปพลิเคชันสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 3) ปฏิบัติการติดตั้งแอปพลิเคชันตัดต่อวิดีโอลงบนคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน 4) ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง 5) ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ - รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอ 6) ปฏิบัติการแปลงไฟล์วิดีโอ ส่งออกไฟล์ และการเผยแพร่ไฟล์วิดีโอบน Social Media ช่องทางต่าง ๆ 7) ปฏิบัติการพัฒนาสื่อการสอนสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ที่ได้ออกแบบไว้ คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม และรายบุคคลในสถานศึกษาและผ่านช่องทางออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถเลือกและประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ปฏิบัติการเรียนรู้คำสั่งการใช้งานข องเครื่องมือพื้นฐาน ได้แก่ การเลือกและสร้างภาพกราฟิก Sound Effect/ตัดต่อใส่เสียง ปฏิบัติการตัดต่อวิดีโอ ด้วยสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ รวมถึงการแปลงไฟล์วิดีโอเพื่อสร้างวัตถุดิบและพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
|
42 | 0 |
2. Creation Skill |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำหลักสูตร ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา และคณะทำงาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น การดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์เป็นการดำเนินงานภายใต้โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกำลังคนที่มีสมรรถนะ เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทย ประเภทประกาศนียบัตร (Non-Degree) ได้รับทุนจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นการ Upskill ทักษะครู ให้มีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล
โดยผลการดำเนินงานกิจกรรมในครั้งนี้ มีครูเข้าร่วมหลักสูตรจำนวน 42 คน มีผู้ผ่านเกณฑ์ในระดับ“ดีมาก”จำนวน 22 คน ผ่านเกณฑ์ในระดับ “ดี” จำนวน 14 คน และไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 6 คน โดยมีผู้เข้าร่วมจากหลากหลายสถาบันการศึกษาและหลากหลายสังกัด
คณะทำงานขอขอบคุณวิทยากรผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับสมรรถนะดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์แก่ผู้เรียนให้เกิดขึ้นได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ขอบคุณคณาจารย์และบุคคลที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นที่สนับสนุนการดำเนินงาน ขอบคุณแหล่งทุนสนับสนุนที่เป็นกลไกการขับเคลื่อนหลักให้เกิดกิจกรรมนี้ อย่างไรก็ตามทีมคณะทำงานได้มีแผนการดำเนินงานติดตามลงพื้นที่สำรวจภายหลังที่โครงการได้สิ้นสุดลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงและขยายผลแก่กลุ่มครูในเครือข่ายเพื่อการพัฒนาครู และผู้เรียนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
คณะทำงาน
กุมภาพันธ์ 2567 สารบัญ
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญรูป จ
สารบัญตาราง ช
1 รายละเอียดหลักสูตร 1
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย 1
1.2 ชื่อหลักสูตร 1
1.3 รุ่น 1
1.4 กลุ่มอุตสาหกรรม 1
1.5 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1
1.5.2 อาจารย์ผู้สอน 1
1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ 2
1.7 การวิเคราะห์ SKILL MAPPING ของหลักสูตร 2
1.8 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่คาดหวัง 8
2 การจัดการเรียนการสอน 9
2.1 ผลการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 9
2.1.1 PLO1 ผู้เรียนมีสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนร่วมกับการใช้ดิจิทัลออกแบบผลิตสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพในการค้นหา และเข้าถึง โดยบูรณาการทักษะการตลาดดิจิทัล เพื่อโอกาส การสร้างรายได้ การประกอบอาชีพ ผ่านหลายแพลตฟอร์มออนไลน์อย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 11
2.1.2 PLO2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะความเป็นครูที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสร้างแรงบันดาลใจผ่านการสร้างสรรค์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ตระหนักถึงการปรับตัวและรับมือกับสภาวะความกดดันในสังคมวิชาชีพและสังคมดิจิทัลและการก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัล 20
2.2 วิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน 30
2.3 ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36 สารบัญรูป รูป 1 ผัง Skill Mapping ของหลักสูตร 4 รูป 2 การสร้างการรับรู้ผลลัพธ์การเรียนรู้ 10 รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน 13 รูป 4 Creation Skill การวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 15 รูป 5 SEO Skill สามารถเลือกใช้ Keyword เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูล 16 รูป 6 Tech & Tool Skill การประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 18 รูป 7 Marketer Skill การสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์เพื่อการประกอบการ 19 รูป 8 Adaptability Skill การสังเคราะห์สื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับบริบทของเหตุการณ์ 21 รูป 9 Collaboration Skill การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานร่วมกัน 23 รูป 10 Creativity Skill การสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 25 รูป 11 Inspiration การสร้างแรงบัลดาลผ่านการนำเสนอผลงาน 27 รูป 12 Emotional Intelligence การรับมือสภาวะความกดดัน การสร้างพฤติกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 29 รูป 13 การสร้างผัง Mindmap การออกแบบการสร้างสื่อการสอนแบบดิจิทัลคอนเทนต์ 39 รูป 14 การออกแบบ Story Board 40 รูป 15 การออกแบบผลงานผ่าน Google Site 41 รูป 16 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการออกแบบคอนเทนต์ 42 รูป 17 การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลเพื่อพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ 42 รูป 18 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการเตรียมและสร้างวัตถุดิบ (หลังเรียน) 43 รูป 19 ระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้งานเครื่องมือดิจิทัลเพื่อออกแบบและพัฒนาคอนเทนต์การสอน (Digital Tools for Digital Content) ด้านการตัดต่อคลิปวิดีโอ (หลังเรียน) 43 รูป 20 ตระหนักต่อการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ในสังคมหรือสถานการณ์ในปัจจุบัน 44 รูป 21 "เจตคติ" ที่ดีในการทำงานร่วมกับผู้อื่น และมี "ทักษะ" การทำงานเป็นทีม 45 รูป 22 "เจตคติ"ที่ดีต่อมุมมองของการสร้างสรรค์ผลงานสื่อการสอนที่สร้างสรรค์ โดยมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 46 รูป 23"เจตคติ" ที่ดีในสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อสร้างแรงบันดาล 47 รูป 24 “เจตคติ" ที่ดีในการรับมือสภาวะความกดดัน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และการวิพากษ์วิจารณ์ผลงานอย่างสร้างสรรค์ 48 รูป 25 ระดับความรู้ ความเข้าใจและทักษะการสื่อสาร การทำงานร่วมกับผู้อื่น การนำเสนอและเผยแพร่อย่างมีจรรยาบรรณ (หลังเรียน) 49 รูป 26 Google Form เพื่อการมีส่วนร่วมกันในการออกแบบหลักสูตร 52 รูป 27 บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ณ โรงเรียนเครือข่าย 53 รูป 28 การติดตามผู้เรียนการแก้ไขปัญหา 54 รูป 29 การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ 55 รูป 30 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม 56 รูป 31 การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม (ต่อ) 57 รูป 32 ผู้เรียนในหลักสูตร 60 รูป 33 กลไกการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษาในระยะยาวเพื่อให้เกิดความยั่งยืน 69 รูป 34 การดำเนินงานของกลไก 70 รูป 35 แนวทางการขยายผล / แนวคิดโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ฯ 71 รูป 36 แนวทางการขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนพุทธิโศภน 71 รูป 37 การขยายผลไปยังพื้นที่โรงเรียนบ้านออนกลางไปยัง โรงเรียนเครือข่ายในพื้นที่อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 72 รูป 38 ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานและหลักสูตร 75 สารบัญตาราง ตาราง 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร 5
ตาราง 2 ภาพรวมทักษะและสมรรถนะที่ได้ของผู้เรียน 36
ตาราง 3 ประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน 36
ตาราง 4 ผู้เรียนจำแนกตามสถานที่ 58
ตาราง 5 รายละเอียดผู้เรียน 61
1 รายละเอียดหลักสูตร
1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
1.2 ชื่อหลักสูตร 1.5.2 อาจารย์ผู้สอน ชื่ออาจารย์/ผู้รับผิดชอบ ความเชี่ยวชาญ อีเมล ผศ.ดร.ฐิติมา ญาณะวงษา การออกแบบการเรียนการสอน วิชาชีพครู นวัตกรรมการเรียนรู้ การบูรณาการ ชุมชนวิชาชีพแห่งการเรียนรู้ thitima@feu.edu ผศ.ศราวุธ พงษ์ลี้รัตน์ เทคโนโลยีดิจิทัล และการสร้างสรรค์ sarawut@feu.edu อ.อังษณีภรณ์ ศรีคำสุข วิชาชีพครู aungsaneepon@feu.edu อ.พิชัย เหลี่ยวเรืองรัตน์ วิศวกรรม pichai@feu.edu ผศ.จันทร์จิตร เธียรสิริ การตลาดดิจิทัล junjit@feu.edu อ.เจนจิรา ถาปินตา บัญชี การประสานงาน และการทำงานร่วมกับผู้อื่น janejira@feu.edu 1.6 หลักสูตรเน้นทักษะ
⬜ Re-skill Up-skill ⬜ New Skill ⬜ อื่นๆ
รูป 3 Instructional Designer Skills การวิเคระห์และการออกแบบโมดูลการสอน
sPLO วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนรู้
Creation Skill
1. ผู้เรียนสามารถวางแผนเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้
2. ผู้เรียนสามารประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัลขั้นพื้นฐานที่เป็นฐานความรู้ในการพัฒนาสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ • Active Learning ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนที่มีการออกแบบอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ในระดับภาพรวมกึ่งรายละเอียดได้ดี และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยมีการพัฒนาแผนการสร้างสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ผ่านแนวคิดการเล่าเรื่อง (Storytelling) และหลักการของ Story Board
|
42 | 0 |
3. Instructional Designer Skills |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) สำรวจความคิดเห็น ปัญหา และสภาพการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลที่ต้องการได้เรียนรู้จากหลักสูตร
2) สำรวจความรู้และความเข้าใจของครูเกี่ยวกับแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนยุคดิจิทัลโดยใช้ Mentimeter ในประเด็นดังนี้
• เทรนด์การเรียนรู้ใหม่ของคนยุคดิจิทัลเป็นอย่างไร
• การจัดการศึกษาในยุคดิจิทัลควรเป็นอย่างไร
• แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง
3) จัดการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนและสื่อในยุคดิจิทัลให้ผู้เรียนเสนอความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันผ่านประสบการณ์ ในประเด็นดังนี้
• สมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูในการจัดการเรียนรู้มีอะไรบ้าง
• บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
• เนื้อหาการเรียนรู้ที่น่าสนใจในยุคดิจิทัล
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกแบบการจัดการเรียนรู้ยุคดิจิทัล
4) ปฏิบัติการวิเคราะห์สิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความจำเป็น การวิเคราะห์เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนการสอน และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
5) ปฏิบัติการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ในรายวิชาที่ตนเองรับผิดชอบสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรและรายวิชา เพื่อการออกแบบเนื้อหา กิจกรรม และกระบวนการสื่อสาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ทำให้สามารออกแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการ การใช้เทคโนโลยีกับเนื้อหาและวิธีการสอนได้อย่างเป็นระบบ ตลอดจนออกแบบสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์แบบ Micro Learning ได้ โดยการวิเคราะห์สารสนเทศและกิจกรรมการเรียนการสอนในการสร้างเนื้อหา (content) ของผู้เรียนที่เข้าร่วมมีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายที่จะเรียนรู้ผ่านสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ โดยผู้เรียนมีสมรรถนะการวิเคราะห์สารสนเทศที่จำเป็นในการออกแบบการเรียนการสอนและสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์ได้อย่างครอบคลุม ดังนี้
|
42 | 0 |
4. SEO Skill |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) การศึกษาเทคนิคการใช้ Hashtag บน Social Media ช่องทางต่าง ๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสร้าง Keyword ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการสอนหรือสื่อการสอนดิจิทัลคอนเทนต์เพื่อให้เข้าถึงการสืบค้นที่รวดเร็ว และมีการนำเสนอที่สะท้อนถึงการมีลำดับขั้นตอนในการได้มาซึ่ง Keyword ที่คาดว่าจะตรงกับความต้องการสืบค้นของกลุ่มผู้เรียน
|
42 | 0 |
5. Marketer Skill |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1) วิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ 2) ศึกษาและเรียนรู้การตลาดดิจิทัลพื้นฐานเพื่อสร้างรายได้และอาชีพแก่ตนเอง สถานศึกษา ผู้เรียน และชุมชน 3) สืบค้น และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้ 4) ปฏิบัติการสร้างเพจ บน Facebook และการสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube 5) คณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ (Google Meet) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนวิเคราะห์แนวโน้มการประกอบอาชีพและการสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างๆ และนำเสนอกรณีศึกษา ครูคอนเทนต์ครีเอเตอร์ (บุคคลที่มีชื่อเสียง) และสะท้อนการเรียนรู้เพื่อการประยุกต์ใช้ และสามารถสร้างช่องทางการนำเสนอคอนเทนต์ผ่าน YouTube และ google site โดยประยุกต์ใช้สื่อการเรียนการสอนการที่ออกแบบและพัฒนาด้วยตนเอง เชื่อมโยงและเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มทางการศึกษาได้
|
42 | 0 |
6. Coaching and Mentoring |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลักสูตรได้มีการดำเนินงานร่วมกับสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านออนกลาง โรงเรียนพุทธิโศภน อำเภอเมืองเชียงใหม่ โรงเรียนวัดศรีบุญเรือง สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแม่อาย และสำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ความร่วมมือทำให้เกิดการขยายผลการจัดกิจกรรมไปยังเครือข่ายสถานศึกษาส่งผลให้เกิดจำนวนการ Upskill ของครูที่มากขึ้น กระบวนการติดตามและการประเมินผลร่วมกัน โดยใช้กระบวนการ Coaching เป็นเครื่องมือ โดยจะมีการติดตามในชั้นเรียนและลงสำรวจพื้นที่รายโรงเรียนเป้าหมาย 2 รูปแบบได้แก่ ติดตามด้วยระบบออนไลน์ผ่าน Google Meet และติดตามในพื้นที่ของโรงเรียน การติดตามและประเมินผลระบบออนไลน์ ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านช่องทางออนไลน์ Google Meet การติดตาม ณ โรงเรียนผู้เรียนที่เข้าร่วม
ได้มีการติดตามผลในระบบออนไลน์ โดยคณาจารย์และทีมนิเทศกำกับติดตามและสะท้อนการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยกระบวนการ Coaching and Mentoring ในรูปแบบกระบวนการกลุ่ม ผ่านการลงพื้นที่ ณ สถานศึกษา ได้แก่
|
42 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
หลักสูตรครูนักสร้างคอนเทนต์การสอนอย่างสร้างสรรค์ (Creative teaching content creators) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0030
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......