directions_run

หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


“ หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0091 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ



บทคัดย่อ

หลักสูตรประกาศนียบัตร นักพัฒนาการออกแบบเชิงโต้ตอบและการพัฒนาเกม เน้นการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะ สนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมดิจิทัล ด้วยกำลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยสำหรับการทำงานในอุตสาหกรรมใหม่สู่อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) และเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Growth Engines) ของประเทศ โดยมุ่งเป้าที่อุตสาหกรรมดิจิทัล มีแนวทางการดำเนินงานที่หลากหลาย เช่น การปรับเปลี่ยน/เพิ่มสมรรถนะและความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ตอบโจทย์เฉพาะของสถานประกอบการและการพัฒนาส่วนบุคคลตามอัธยาศัย ปรับเปลี่ยน รูปแบบการผลิตบัณฑิต และสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการเรียนการสอน เน้นการปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระ โครงสร้างหลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียน การสอนสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในสภาพการทำงานจริง เป็นสําคัญ สร้างให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและศักยภาพสูง มีการร่วมมือกับสถานประกอบการหรือภาคอตุสาหกรรมในการผลิตบัณฑิต และกําลังคน บูรณาการทักษะสมัยใหม่ด้านดิจิทัล ความเป็นผู้ประกอบการ ทักษะการแก้ปัญหาจากโจทย์ของอุตสาหกรรมที่พบได้จริง ทักษะการรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคม นวัตกรรม และเทคโนโลยี เข้ากับความรู้หลักในศาสตร์สาขาวิชาชีพในอุตสาหกรรมดิจิทัล การบูรณาการการเรียนการสอนข้ามศาสตร์สาขาวิชาชีพให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างรากฐานการพัฒนาการศึกษาระดับอดุมศึกษาแห่งอนาคต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายดำเนินการ (2) PLO2 สามารถออกแบบและพัฒนางานสื่อเชิงโต้ตอบแบบ 2 มิติ และใช้เทคนิคหลักการออกแบบและแอนิเมชันเพื่อสร้างสรรค์วัตถุ 3 มิติ ออกแบบตัวละคร และผลิตแอนิเมชันขั้นสูง (3) PLO3 สามารถสร้างวิชวลเอฟเฟ็กต์ในงานแอนิเมชันและประยุกต์ใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบกับภาคธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีและแนวคิดนวัตกรรม วิเคราะห์ประเมินปัญหาจากอุตสาหกรรมภายนอก สังคม หรือประเด็นหัวข้อความสนใจ (4) PLO1 สามารถสร้างและสื่อสารเรื่องราวผ่านการเขียนบท การเล่าเรื่องด้วยภาพประกอบ การใช้เสียงประกอบเรื่องเล่า การตัดต่อและลำดับภาพประกอบเพื่อนำเสนอเรื่องเล่า (5) กิจกรรม Workshop (Pre-Pitching Day) (6) Pitching Day (7) ประเมินผลและจัดทำรายงาน (8) ค่าออกแบบหลักสูตรกับอุตสาหกรรม (9) ค่าจ้างบริการผู้ประสานงานโครงการ (10) การออกแบบงานกราฟิก (11) ค่าถ่ายทำและตัดต่อวีดิโอ (12) ค่าธรรมเนียมรายเดือนโปรแกรม Zoom (13) ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด (14) ค่าเช่าพื้นที่ อาคาร และค่าอุปกรณ์ (นอกเวลาทำการ) (15) ครั้งที่ 1 Composition and Element of Design (SPLO2.1) (16) ครั้งที่ 2 Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation (SPLO2.2) (17) ครั้งที่ 3 งานออกแบบเชิงโต้ตอบ Interactive Design Program (SPLO3.3) (18) ครั้งที่ 4 Real-Time Render Animations (SPLO2.4) (19) ครั้งที่ 5 งานออกแบบด้าน Story Telling / Storyboard (SPLO1.1) (20) ครั้งที่ 6 Communications & Media Technologies (SPLO1.2) (21) ครั้งที่ 7 : หัวข้อ Interactive Design Program (22) ครั้งที่ 8 : หัวข้อ Interactive Design Program (23) ครั้งที่ 9 3D Object and Character Design (SPLO2.3) (24) ครั้งที่ 10 3D Object and Character Design (SPLO2.3) (25) ครั้งที่ 11 Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชัน (SPLO3.1) (26) ครั้งที่ 12 Sound Design & VFX (SPLO1.3) (27) ครั้งที่ 13 Post Processing Media (SPLO3.2) (28) ครั้งที่ 14 : Design Thinking เพื่อช่วยออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์ (29) Pitching Day : Presentation and Discussion (30) ประเมินผลและจัดทำรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
  2. PLO2 สามารถออกแบบและพัฒนางานสื่อเชิงโต้ตอบแบบ 2 มิติ และใช้เทคนิคหลักการออกแบบและแอนิเมชันเพื่อสร้างสรรค์วัตถุ 3 มิติ ออกแบบตัวละคร และผลิตแอนิเมชันขั้นสูง
  3. PLO3 สามารถสร้างวิชวลเอฟเฟ็กต์ในงานแอนิเมชันและประยุกต์ใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบกับภาคธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีและแนวคิดนวัตกรรม วิเคราะห์ประเมินปัญหาจากอุตสาหกรรมภายนอก สังคม หรือประเด็นหัวข้อความสนใจ
  4. PLO1 สามารถสร้างและสื่อสารเรื่องราวผ่านการเขียนบท การเล่าเรื่องด้วยภาพประกอบ การใช้เสียงประกอบเรื่องเล่า การตัดต่อและลำดับภาพประกอบเพื่อนำเสนอเรื่องเล่า
  5. กิจกรรม Workshop (Pre-Pitching Day)
  6. Pitching Day
  7. ประเมินผลและจัดทำรายงาน
  8. ค่าออกแบบหลักสูตรกับอุตสาหกรรม
  9. ค่าจ้างบริการผู้ประสานงานโครงการ
  10. ค่าตัดต่อวีดิโอ
  11. ค่าธรรมเนียมรายเดือนโปรแกรม Zoom
  12. ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด
  13. ค่าเช่าพื้นที่ อาคาร และค่าอุปกรณ์ (นอกเวลาทำการ)
  14. ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และน้ำดื่ม
  15. ครั้งที่ 1 Composition and Element of Design (SPLO2.1)
  16. ครั้งที่ 2 Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation (SPLO2.2)
  17. ครั้งที่ 3 งานออกแบบเชิงโต้ตอบ Interactive Design Program (SPLO3.3)
  18. ครั้งที่ 4 Real-Time Render Animations (SPLO2.4)
  19. ครั้งที่ 5 งานออกแบบด้าน Story Telling / Storyboard (SPLO1.1)
  20. ครั้งที่ 6 Communications & Media Technologies (SPLO1.2)
  21. ครั้งที่ 7 : หัวข้อ Interactive Design Program
  22. ครั้งที่ 8 : หัวข้อ Interactive Design Program
  23. ครั้งที่ 9 3D Object and Character Design (SPLO2.3)
  24. ครั้งที่ 10 3D Object and Character Design (SPLO2.3)
  25. ครั้งที่ 11 Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชัน (SPLO3.1)
  26. ครั้งที่ 12 Sound Design & VFX (SPLO1.3)
  27. ค่าเช่าสถานที่ดูงาน
  28. ค่าจ้างเหมารถตู้ศึกษาดูงานภาคสนามพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง
  29. ครั้งที่ 13 Post Processing Media (SPLO3.2)
  30. ครั้งที่ 14 : Design Thinking เพื่อช่วยออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์
  31. ประเมินผลและจัดทำรายงาน
  32. ค่าตอบแทนกรรมการ Pitching
  33. Pitching Day : Presentation and Discussion

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าออกแบบหลักสูตรกับอุตสาหกรรม

วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มบริษัทอุตสาหกรรม ได้แก่ สมาคม TACGA  ร่วมกับ บริษัท One Cool Production  และ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกันออกแบบและวางแผนการดำเนินการหลักสูตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนการรับนักศึกษา
  2. ออกแบบหลักสูตร โดยกำหนดเนื้อหาและผลการเรียนรู้
  3. จัดการเรียนการสอน
  4. การประเมินและปรับปรุงกระบวนการดำเนินการของหลักสูตร

 

7 0

2. ค่าจ้างบริการผู้ประสานงานโครงการ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานในด้านต่างๆ ตั้งแต่เริ่มหลักสูตร จนถึงเสร็จสิ้นการจัดหลักสูตร รวมระยะเวลา 4 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประสานงานและดำเนินการกับกลุ่มอุตสาหกรรมภายนอกสำหรับการออกแบบหลักสุตร
  2. ประสานงานและดำเนินการกับกลุ่มวิทยากร ผู้ช่วยวิทยากร ผู้เข้าอบรม ตลอดระยะเวลาจัดหลักสูตร
  3. ประสานงานและดำเนินการกับหน่วยงานด้านอื่นๆ เช่น ด้านอาหาร ด้านการเงิน ด้านอาคารสถานที่ เป็นต้น

 

4 0

3. ครั้งที่ 1 Composition and Element of Design (SPLO2.1)

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ
1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 10 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Composition and Element of Design 1. หลักองค์ประกอบศิลป์ และ ส่วนประกอบของงานออกแบบ
- มิติสัมพันธ์ของสายตา และแบบจำลอง 2. จุด เส้น ระนาบ จากงาน 2 มิติสู่ 3 มิติ การใช้งาน Blender และการขึ้นรูปแบบจำลอง 3 มิติ มิติสัมพันธ์บน Viewport 3D 3. หลัก Visual Development ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงหลักการและองค์ประกอบของการออกแบบกับงานสร้างสรรค์ดิจิทัล

 

90 0

4. ค่าตัดต่อวีดิโอ

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัดต่อวิดีโอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัดต่อวิดีโอตลอดหลักสูตร

 

1 0

5. ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค่า SSD สำหรับใช้เก็บข้อมูล และเพิ่มความเร็ว
  2. ค่าสายเคเบิ้ล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รองรับการเรียนการสอนของหลักสูตร

 

90 0

6. ค่าเช่าพื้นที่ อาคาร และค่าอุปกรณ์ (นอกเวลาทำการ)

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พื้นที่อาคาร และอุปกรณ์ (นอกเวลาทำการ) สำหรับใช้ในการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รองรับ และอำนวยสะดวกให้กับผู้เข้าอบรม

 

90 0

7. ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง และน้ำดื่ม

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. อาหารกลางวัน (กล่อง)
  2. อาหารว่างเข้า และบ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รับรองให้กับผู้เข้าอบรมตลอดหลักสูตร

 

90 0

8. ค่าธรรมเนียมรายเดือนโปรแกรม Zoom

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าธรรมเนียมโปรแกรม zoom รายเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รองรับการสอนแบบออนไลน์

 

90 0

9. ครั้งที่ 2 Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation (SPLO2.2)

วันที่ 14 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 10 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation 1. Animation Pipeline 2. เข้าใจหลักการ 12 หลักพื้นฐานการสร้างภาพเคลื่อนไหว Squash & Stretch, Anticipation, Staging, Straight Ahead Action & Pose to Pose, Follow Through & Overlapping Action, Slow In & Slow Out • ผู้เรียนสามารถอภิปรายพื้นฐานของแอนิเมชัน และ 12 หลักการของแอนิเมชัน (Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation) โดยสรุปประเด็นสำคัญด้านการออกแบบแอนิเมชันในงานกราฟิก

 

90 0

10. ครั้งที่ 3 งานออกแบบเชิงโต้ตอบ Interactive Design Program (SPLO3.3)

วันที่ 21 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 16 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน งานออกแบบเชิงโต้ตอบ Interactive Design Program การออกแบบ UX / UI ส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน/UXUI for Digital Product/Virtual Art Gallery /Canvas UI / Controller /Platform Compatible • ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบ (Interactive Design Program) เชื่อมโยงหลักการออกแบบ UX/UI ส่วนต่อประสานผู้ใช้งานกับภาคธุรกิจ

 

90 0

11. ครั้งที่ 4 Real-Time Render Animations (SPLO2.4)

วันที่ 28 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 2 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 1 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 9 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Real-Time Render Animations 1. การทำ Pre-Process Animation Scene ผ่าน Unity หรือ Unreal Game Engine 2. หลักการทำ Real Time Render ด้วย Cloud Render • ผู้เรียนสามารถใช้เทคนิคแอนิเมชันเรนเดอร์แบบเรียลไทม์ (Real-Time Render Animations) เพื่อผลิตแอนิเมชันขั้นสูง

 

90 0

12. ครั้งที่ 5 งานออกแบบด้าน Story Telling / Storyboard (SPLO1.1)

วันที่ 4 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 5 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 10 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน งานออกแบบด้าน Story Telling / Storyboard 1. หลักการออกแบบเรื่องราวStoryboard สำหรับงานแอนิเมชันและการออกแบบ Plot 2. Visual Story telling 3. โจทย์ทางธุรกิจ • ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคนิคการเล่าเรื่องและการเขียนบทละครเบื้องต้น (Story Telling / Storyboard) มาสร้างสรรค์บทละคร การสื่อสารทางด้านภาษา การเล่าเรื่องผ่านสื่อดิจิทัลและการสร้างภาพประกอบการเล่าเรื่อง

 

90 0

13. ครั้งที่ 6 Communications & Media Technologies (SPLO1.2)

วันที่ 11 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 5 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 1 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 9 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Communications & Media Technologies การนำเสนอแอนิเมชัน และการต่อยอดตามหลัก Business of Media, In-Depth Project: Studio Entertainment Series, Media Specialties • ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและสื่อ (Communications & Media Technologies) เพื่อสร้างผลงานด้านการออกแบบกราฟิก 3 มิติ และแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ

 

90 0

14. ครั้งที่ 7 : หัวข้อ Interactive Design Program

วันที่ 17 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ • บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง • Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง • เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 14 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Interactive Design Program   Animation Principle (Human)
      - IK / Human • ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบ (Interactive Design Program) เชื่อมโยงหลักการออกแบบ UX/UI ส่วนต่อประสานผู้ใช้งานกับภาคธุรกิจ

 

90 0

15. ครั้งที่ 8 : หัวข้อ Interactive Design Program

วันที่ 25 กันยายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 14 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Interactive Design Program   Animation Principle (Non-Human)
      - Custom Rig/ Objects Riggins • ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบ (Interactive Design Program) เชื่อมโยงหลักการออกแบบ UX/UI ส่วนต่อประสานผู้ใช้งานกับภาคธุรกิจ

 

90 0

16. ครั้งที่ 9 3D Object and Character Design (SPLO2.3)

วันที่ 2 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 16 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน 3D Object and Character Design 1. หลักการออกแบบ เชิงโครงสร้างสถาปัตยกรรม และวัตถุภายใน ฉากจำลอง
2. แสง และมุมกล้อง สำหรับแบบจำลอง 3 มิติ รูปแบบ Material ภายในวัตถุ
3. Fundamentals of Environments & Prop Design • ผู้เรียนสามารถนำหลักการออกแบบวัตถุและเครื่องมือต่างๆ แบบ 3 มิติ มาสร้างวัตถุ 3 มิติและออกแบบตัวละคร (3D Object and Character Design)

 

90 0

17. ครั้งที่ 10 3D Object and Character Design (SPLO2.3)

วันที่ 9 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 16 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน 3D Object and Character Design หลักการออกแบบ Environments & Prop Design ฉากจำลอง แสงและมุมกล้อง 1. หลัก Topology และ Anatomy ของมนุษย์ แบบ Low Polygon และ Matcap UV Texture 2. การควบคุมตัวละคร Rigging Animation สำหรับ Humanoid 3.  Fundamentals of Environments & Prop Designผู้เรียนสามารถออกแบบ Digital Content โดยใช้เครื่องมือและ Platform ที่เหมาะสม • ผู้เรียนสามารถนำหลักการออกแบบวัตถุและเครื่องมือต่างๆ แบบ 3 มิติ มาสร้างวัตถุ 3 มิติและออกแบบตัวละคร (3D Object and Character Design)

 

90 0

18. ครั้งที่ 11 Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชัน (SPLO3.1)

วันที่ 16 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 14 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ใน Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชัน 1. หลักการออกแบบ Particle เบื้องต้น บนโปรแกรม Maya สำหรับ Liquid, Collider และ Explosion VFX 2. หลักการออกแบบ Particle เบื้องต้น บนโปรแกรม Blender สำหรับ Liquid, Collider และ Explosion VFX • ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์เทคนิคพิเศษ Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชันหรืองานดิจิทัลเชิงสร้างสรรค์

 

90 0

19. ครั้งที่ 12 Sound Design & VFX (SPLO1.3)

วันที่ 23 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 5 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 2 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 10 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ด้าน Evaluation และ Big Data     เข้าใจและสามารถกำหนด KPI ในการวัดผลแคมเปญในการสื่อสารที่ส่งผลต่อความก้าวหน้าทางธุรกิจ เรียนรู้การ optimize 1. What is big data in digital marketing? 2. What is a data marketer? 3. How customer data increase sales? 4. How is analytics used in marketing? • ผู้เรียนสามารถระบุและอภิปรายอย่างละเอียดถึง Impact ของชิ้นงาน หรือโครงงาน ทำข้อสรุปและผลที่ตามมาโดยพิจารณาถึงสมมติฐานบริบทข้อมูลและหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดและเลือกนำมาใช้อย่างมีหลักเกณฑ์และเหตุผลรองรับ

 

90 0

20. ค่าเช่าสถานที่ดูงาน

วันที่ 23 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. Sound Design - Sound Effects & Music Library Emotional Sound / Environment Sound
  2. Creative Space Workshop: Cinematic Sound Design
  3. กระบวนการพัฒนาชิ้นงานแอนิเมชันหลังออกแบบเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้ายที่มีคุณภาพดีที่สุดก่อนนำเสนอภาพสู่ผู้รับชม
  4. Creative Space Workshop : Tone Curves

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมได้นำมาปรับใช้กับโปรเจคจบหลักสูตร

 

90 0

21. ค่าจ้างเหมารถตู้ศึกษาดูงานภาคสนามพร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง

วันที่ 23 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. รถตู้เดินทางไป-กลับ มธบ. -  บ.วันคูล โปรดักชัน
  2. ค่าน้ำมัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รับรองการเดินทางผู้เข้าร่วมอบรม

 

90 0

22. ครั้งที่ 13 Post Processing Media (SPLO3.2)

วันที่ 30 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 4 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 4 ชั่วโมง 3. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงานด้วยตนเอง 16 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กระบวนการพัฒนาชิ้นงานแอนิเมชันหลังออกแบบเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้ายที่มีคุณภาพดีที่สุดก่อนนำเสนอภาพสู่ผู้รับชมผู้เรียนสามารถทำข้อสรุป การคาดการเทคโนโลยี แนวคิดการต่อยอดและผลที่ตามมาโดยพิจารณาถึงสมมติฐานบริบทข้อมูลและหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
  2. Creative Space Workshop: Tone Curves • ผู้เรียนสามารถเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการในงานหลังการผลิต (Post Processing Media) โดยใช้โปรแกรมประเภทการจัดองค์ประกอบภาพ หรือเพิ่มเติมเอฟเฟ็กต์พิเศษและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์

 

90 0

23. ครั้งที่ 14 : Design Thinking เพื่อช่วยออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 3 ชั่วโมง 2. เรียนรู้ และบูรณาการกับการทำงาน 20 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาระความรู้ด้าน การผลิตสื่อเชิงโต้ตอบ 3 มิติในเชิงธุรกิจ Workshop: Design Thinking เพื่อช่วยให้ออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์ 1. การผลิตภาพยนตร์แอนิเมชัน ไม่เกิน 15 นาที (ต่อกลุ่ม) หรือ ผลิตสื่อเชิงโต้ตอบ 3 มิติที่ให้ข้อมูลธุรกิจ • ผู้เรียนสามารถนำหลักการ Design Thinking มาใช้ผลิตสื่อเชิงโต้ตอบ 3 มิติในเชิงธุรกิจ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับทาง 3 มิติ มาประยุกต์ใช้กับภาคธุรกิจ โดยใช้เทคโนโลยีและแนวคิดนวัตกรรม

 

90 0

24. ประเมินผลและจัดทำรายงาน

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. รวบรวมการทำงานตั้งแต่เริ่มโครงการ
  2. ทำประเมินผลการเรียนการสอน
  3. จัดทำรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รวบรวมการทำงานตั้งแต่เริ่มโครงการ และนำผลประเมินมาจัดทำรายงาน

 

5 0

25. Pitching Day : Presentation and Discussion

วันที่ 15 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ 1. บรรยายเนื้อหา 2 ชั่วโมง 2. Work Shop Case Study 5 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลิตภาพยนตร์แอนิเมชัน ไม่เกิน 15 นาที (ต่อกลุ่ม) หรือ ผลิตสื่อเชิงโต้ตอบ 3 มิติที่ให้ข้อมูล ความรู้ หรือธุรกิจ • ผู้เรียนสามารถผลิตสื่อเชิงโต้ตอบ 3 มิติในเชิงธุรกิจ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับทาง 3 มิติ มาประยุกต์ใช้กับภาคธุรกิจ โดยใช้เทคโนโลยีและแนวคิดนวัตกรรม

 

90 0

26. ค่าตอบแทนกรรมการ Pitching

วันที่ 15 มกราคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. พิจารณาผลงานของผู้เข้าอบรม
  2. ให้คะแนนผลงาน
  3. ให้ความเห็นต่อผลงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้อบรมแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม มีผลงานที่นำมาเสนอจำนวน 6 ชิ้นงาน

 

6 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 102
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

หลักสูตรประกาศนียบัตร นักพัฒนาการออกแบบเชิงโต้ตอบและการพัฒนาเกม เน้นการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะ สนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมดิจิทัล ด้วยกำลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยสำหรับการทำงานในอุตสาหกรรมใหม่สู่อุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) และเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Growth Engines) ของประเทศ โดยมุ่งเป้าที่อุตสาหกรรมดิจิทัล มีแนวทางการดำเนินงานที่หลากหลาย เช่น การปรับเปลี่ยน/เพิ่มสมรรถนะและความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ตอบโจทย์เฉพาะของสถานประกอบการและการพัฒนาส่วนบุคคลตามอัธยาศัย ปรับเปลี่ยน รูปแบบการผลิตบัณฑิต และสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการเรียนการสอน เน้นการปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระ โครงสร้างหลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียน การสอนสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในสภาพการทำงานจริง เป็นสําคัญ สร้างให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและศักยภาพสูง มีการร่วมมือกับสถานประกอบการหรือภาคอตุสาหกรรมในการผลิตบัณฑิต และกําลังคน บูรณาการทักษะสมัยใหม่ด้านดิจิทัล ความเป็นผู้ประกอบการ ทักษะการแก้ปัญหาจากโจทย์ของอุตสาหกรรมที่พบได้จริง ทักษะการรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคม นวัตกรรม และเทคโนโลยี เข้ากับความรู้หลักในศาสตร์สาขาวิชาชีพในอุตสาหกรรมดิจิทัล การบูรณาการการเรียนการสอนข้ามศาสตร์สาขาวิชาชีพให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างรากฐานการพัฒนาการศึกษาระดับอดุมศึกษาแห่งอนาคต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายดำเนินการ (2) PLO2 สามารถออกแบบและพัฒนางานสื่อเชิงโต้ตอบแบบ 2 มิติ และใช้เทคนิคหลักการออกแบบและแอนิเมชันเพื่อสร้างสรรค์วัตถุ 3 มิติ ออกแบบตัวละคร และผลิตแอนิเมชันขั้นสูง (3) PLO3 สามารถสร้างวิชวลเอฟเฟ็กต์ในงานแอนิเมชันและประยุกต์ใช้โปรแกรมออกแบบเชิงโต้ตอบกับภาคธุรกิจโดยใช้เทคโนโลยีและแนวคิดนวัตกรรม วิเคราะห์ประเมินปัญหาจากอุตสาหกรรมภายนอก สังคม หรือประเด็นหัวข้อความสนใจ (4) PLO1 สามารถสร้างและสื่อสารเรื่องราวผ่านการเขียนบท การเล่าเรื่องด้วยภาพประกอบ การใช้เสียงประกอบเรื่องเล่า การตัดต่อและลำดับภาพประกอบเพื่อนำเสนอเรื่องเล่า (5) กิจกรรม Workshop (Pre-Pitching Day) (6) Pitching Day (7) ประเมินผลและจัดทำรายงาน (8) ค่าออกแบบหลักสูตรกับอุตสาหกรรม (9) ค่าจ้างบริการผู้ประสานงานโครงการ (10) การออกแบบงานกราฟิก (11) ค่าถ่ายทำและตัดต่อวีดิโอ (12) ค่าธรรมเนียมรายเดือนโปรแกรม Zoom (13) ค่าใช้สอยเบ็ดเตล็ด (14) ค่าเช่าพื้นที่ อาคาร และค่าอุปกรณ์ (นอกเวลาทำการ) (15) ครั้งที่ 1 Composition and Element of Design (SPLO2.1) (16) ครั้งที่ 2 Fundamental of Animation & 12 Principles of Animation (SPLO2.2) (17) ครั้งที่ 3 งานออกแบบเชิงโต้ตอบ Interactive Design Program (SPLO3.3) (18) ครั้งที่ 4 Real-Time Render Animations (SPLO2.4) (19) ครั้งที่ 5 งานออกแบบด้าน Story Telling / Storyboard (SPLO1.1) (20) ครั้งที่ 6 Communications & Media Technologies (SPLO1.2) (21) ครั้งที่ 7 : หัวข้อ Interactive Design Program (22) ครั้งที่ 8 : หัวข้อ Interactive Design Program (23) ครั้งที่ 9 3D Object and Character Design (SPLO2.3) (24) ครั้งที่ 10 3D Object and Character Design (SPLO2.3) (25) ครั้งที่ 11 Visual Effect (VFX) สำหรับงานแอนิเมชัน (SPLO3.1) (26) ครั้งที่ 12 Sound Design & VFX (SPLO1.3) (27) ครั้งที่ 13 Post Processing Media (SPLO3.2) (28) ครั้งที่ 14 : Design Thinking เพื่อช่วยออกแบบงานได้อย่างสร้างสรรค์ (29) Pitching Day : Presentation and Discussion (30) ประเมินผลและจัดทำรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรประกาศนียบัตร นักออกแบบกราฟิก 3 มิติและแอนิเมชันสำหรับสื่อเชิงโต้ตอบ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0091

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด