แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
“ หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0103 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบุคลากร
ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยในการดูแลบุคคลที่ต้องการความช่วยเหลือพื้นฐานในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รวมถึงผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ดูแลความสะอาดและความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม โดยการทำงานร่วมกับญาติ และเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งในโรงพยาบาล บ้าน ชุมชน สถานดูแลผู้สูงอายุ สถานบริการสุขภาพอื่น ๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม (2) กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม (3) การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม (4) การอบรมภาคทฤษฎี (5) การอบรมภาคปฏิบัติ (6) ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา (7) พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
ข้อเสนอแนะ ดังรายงานสรุปสรุปประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม
- กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม
- การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
- การอบรมภาคทฤษฎี
- การอบรมภาคปฏิบัติ
- ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา
- พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม
วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
- ชุมชนเครือข่าย ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลพลงตาเอี่ยม องค์การบริหารส่วนตำบลหนองพันทา โรงพยาบาลวังจันทร์ องค์การบริหารส่วนตำบลทองเอน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลทองเอน ตำบลกุดจอก จังหวัดชัยนาท
- หน่วยงานบริเวณพื้นที่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ ศูนย์บริการสาธารณสุข 6 สโมสรวัฒนธรรมหญิง ศูนย์บริการสาธารณสุข 38 ศูนย์ข้าราชบริพารผู้สูงอายุ
- บุคคลทั่วไป ผ่าน Facebook งานนิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือก ดังนี้
1. ชุมชนเครือข่าย จำนวน 0 คน
2. หน่วยงานบริเวณพื้นที่ ศูนย์ข้าราชบริพารผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน
3. บุคคลทั่วไป จำนวน 28 คน
0
0
2. กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม
วันที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การดำเนินการ
1. สอบสัมภาษณ์บุคลิกภาพและภาวะจิตใจคัดเลือกเข้ารับการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (Nurses’ aides/Caregivers) รุ่นที่ 4 วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ศูนย์การเรียนรู้ Room 1 ชั้น 2 อาคาร 604 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา หรือผ่านระบบออนไลน์
สถาบันประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมทาง www.cdti.ac.th/Facebook Page วันที่ 26 ตุลาคม 2566
รายงานตัวเข้าอบรมที่สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ประชาสัมพันธ์ ชั้น 1 อาคาร 604 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา วันที่ 27 หรือ วันที่ 30 ตุลาคม 2566
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 18 คน
20
0
3. การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- กล่าวต้อนรับและเปิดโครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล รุ่นที่ 4
- ชี้แจงหลักสูตรและแนะนำทีมผู้สอน
- ชี้แจงเงื่อนไขการเข้ารับการอบรม
- ชี้แจงข้อมูลการเตรียมตัวในการขึ้นฝึกปฏิบัติงาน
- “รู้จักสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา” และ “เขา” เป็นใคร?
- แนะนำวิธีการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์
- กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้เข้ารับการปฐมนิเทศ ร้อยละ 90
0
0
4. การอบรมภาคทฤษฎี
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ภาคทฤษฎี
1 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาเบื้องต้น 15 ชั่วโมง
2 การช่วยเหลือดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน 45 ชั่วโมง
3 การดูแลด้านการจัดอาหาร 15 ชั่วโมง
4 การบำรุงรักษาและทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์การรักษาพยาบาล 15 ชั่วโมง
5 จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 15 ชั่วโมง
6 การดูแลด้านจิตสังคม 15 ชั่วโมง
7 การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 30 ชั่วโมง
8 การบันทึกและการรายงาน 15 ชั่วโมง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ค่าเฉลี่ยผลคะแนนรายวิชา (หน่วยนับ ร้อยละ)
- กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาเบื้องต้น ร้อยละ 85.19
- การช่วยเหลือดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 74.66
- การดูแลด้านการจัดอาหาร ร้อยละ 75.41
- การบำรุงรักษาและทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์การรักษาพยาบาล ร้อยละ 74.00
- จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 62.92
- การดูแลด้านจิตสังคม ร้อยละ 73.44
- การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ 75.69
- การบันทึกและการรายงาน ร้อยละ 74.69
- การประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรภาคทฤษฎี โดยผู้เรียน
1) ด้านการประเมินตนเอง ค่าเฉลี่ย 4.40 แปลผล มากที่สุด
2) ด้านการประเมินวิทยากร/ผู้สอน ค่าเฉลี่ย 4.61 แปลผล มากที่สุด
3) ด้านสื่อการเรียนการสอน/แหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.32 แปลผล มากที่สุด
4) ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.33 แปลผล มากที่สุด
5) ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
เอกสารคู่มือเนื้อหาไม่ต่อเนื่อง
และระยะเวลาในการเรียนการสอนรายวิชาทฤษฎีแน่นเกินไป
0
0
5. การอบรมภาคปฏิบัติ
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 ฝึกปฏิบัติการดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน 120 ชั่วโมง
2 ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 1 120 ชั่วโมง
3 ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 2 120 ชั่วโมง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ค่าเฉลี่ยผลคะแนนรายวิชา (หน่วยนับ ร้อยละ)
- ฝึกปฏิบัติการดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน ค่าคะแนนเฉลี่ย 82.13
- ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ย 86.48
- ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 2 ค่าคะแนนเฉลี่ย 79.43
- การประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรภาคปฏิบัติ โดยผู้เรียน
1) ด้านการประเมินตนเอง ค่าเฉลี่ย 3.95 แปลผล มาก
2) ด้านการจัดการเรียนการสอน ค่าเฉลี่ย 4.66 แปลผล มากที่สุด
3) ด้านการแหล่งฝึกปฏิบัติ ค่าเฉลี่ย 4.31 แปลผล มากที่สุด
0
0
6. ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา
วันที่ 8 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อนุมัติการสำเร็จการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแลรุ่นที่ 4
- สรุปผลการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแลรุ่นที่ 4
- กำหนดวันปัจฉิมนิเทศ และมอบประกาศนียบัตรให้กับผู้สำเร็จการอบรม
- วางแผนการจัดการเรียนการสอนสำหรับรุ่นต่อไป
- สถานะการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อนุมัติการสำเร็จการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแลรุ่นที่ 4 จำนวน 18 คน
- รายงานสรุปผลการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแลรุ่นที่ 4
- วันปัจฉิมนิเทศ และมอบประกาศนียบัตรให้กับผู้สำเร็จการอบรม วันอังคารที่ 23 เมษายน 2567
- แผนการจัดการเรียนการสอนสำหรับรุ่นต่อไป เริ่มอบรม เดือนมิถุนายน 2567
- การทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล กับ โรงพยาบาลทหารผ่านศึก
0
0
7. พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
วันที่ 15 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- มอบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้สำเร็จการอบรม และกล่าวให้โอวาท
- กล่าวแสดงความยินดีแก่ผู้สำเร็จการอบรม โดย หน่วยงานเครือข่าย ผู้สนับสนุน
- กล่าวแนะแนวทางการนำความรู้ไปประกอบอาชีพ
- กล่าวแสดงความรู้สึกต่อโครงการโดยผู้เข้าอบรม
- ปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การติดตามผู้สำเร็จการอบรม ระยะเวลา 2 เดือนหลังจบการอบรม
1. งานที่ทำในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับงานเป็นพนักงานให้การดูแล จำนวน 5 คน ได้แก่ ดูแลผู้สูงอายุ, ดูแลผู้ป่วย, ดูแลผู้พิการ เป็นต้น
2. งานที่ทำในปัจจุบันไม่เกี่ยวข้องกับงานพนักงานให้การดูแล จำนวน 8 คน ได้แก่ อาชีพอิสระ บริษัทเอกชน และว่างงาน
3. ไม่ตอบแบบสอบถาม จำนวน 4 คน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0103
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา
“ หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0103 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers)
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบุคลากร
ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยในการดูแลบุคคลที่ต้องการความช่วยเหลือพื้นฐานในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รวมถึงผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ดูแลความสะอาดและความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อม โดยการทำงานร่วมกับญาติ และเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานได้ทั้งในโรงพยาบาล บ้าน ชุมชน สถานดูแลผู้สูงอายุ สถานบริการสุขภาพอื่น ๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม (2) กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม (3) การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม (4) การอบรมภาคทฤษฎี (5) การอบรมภาคปฏิบัติ (6) ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา (7) พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
ข้อเสนอแนะ ดังรายงานสรุปสรุปประเมินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม
- กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม
- การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
- การอบรมภาคทฤษฎี
- การอบรมภาคปฏิบัติ
- ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา
- พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กระบวนการรับสมัครผู้เข้าอบรม |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือก ดังนี้ 1. ชุมชนเครือข่าย จำนวน 0 คน 2. หน่วยงานบริเวณพื้นที่ ศูนย์ข้าราชบริพารผู้สูงอายุ จำนวน 2 คน 3. บุคคลทั่วไป จำนวน 28 คน
|
0 | 0 |
2. กระบวนการคัดเลือกผู้เข้าอบรม |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการดำเนินการ
1. สอบสัมภาษณ์บุคลิกภาพและภาวะจิตใจคัดเลือกเข้ารับการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (Nurses’ aides/Caregivers) รุ่นที่ 4 วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2566 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ศูนย์การเรียนรู้ Room 1 ชั้น 2 อาคาร 604 สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา หรือผ่านระบบออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้เข้าอบรมทั้งสิ้น 18 คน
|
20 | 0 |
3. การปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้เข้ารับการปฐมนิเทศ ร้อยละ 90
|
0 | 0 |
4. การอบรมภาคทฤษฎี |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำภาคทฤษฎี 1 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาเบื้องต้น 15 ชั่วโมง 2 การช่วยเหลือดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน 45 ชั่วโมง 3 การดูแลด้านการจัดอาหาร 15 ชั่วโมง 4 การบำรุงรักษาและทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์การรักษาพยาบาล 15 ชั่วโมง 5 จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน 15 ชั่วโมง 6 การดูแลด้านจิตสังคม 15 ชั่วโมง 7 การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 30 ชั่วโมง 8 การบันทึกและการรายงาน 15 ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาเบื้องต้น ร้อยละ 85.19 - การช่วยเหลือดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 74.66 - การดูแลด้านการจัดอาหาร ร้อยละ 75.41 - การบำรุงรักษาและทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์การรักษาพยาบาล ร้อยละ 74.00 - จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 62.92 - การดูแลด้านจิตสังคม ร้อยละ 73.44 - การดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ 75.69 - การบันทึกและการรายงาน ร้อยละ 74.69
|
0 | 0 |
5. การอบรมภาคปฏิบัติ |
||
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 ฝึกปฏิบัติการดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน 120 ชั่วโมง 2 ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 1 120 ชั่วโมง 3 ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 2 120 ชั่วโมง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ฝึกปฏิบัติการดูแลบุคคลขั้นพื้นฐาน ค่าคะแนนเฉลี่ย 82.13 - ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 1 ค่าคะแนนเฉลี่ย 86.48 - ฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง 2 ค่าคะแนนเฉลี่ย 79.43
|
0 | 0 |
6. ปัจฉิมนิเทศและประชุมอนุมัติจบการศึกษา |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
7. พิธีมอบประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล |
||
วันที่ 15 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการติดตามผู้สำเร็จการอบรม ระยะเวลา 2 เดือนหลังจบการอบรม
1. งานที่ทำในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับงานเป็นพนักงานให้การดูแล จำนวน 5 คน ได้แก่ ดูแลผู้สูงอายุ, ดูแลผู้ป่วย, ดูแลผู้พิการ เป็นต้น
2. งานที่ทำในปัจจุบันไม่เกี่ยวข้องกับงานพนักงานให้การดูแล จำนวน 8 คน ได้แก่ อาชีพอิสระ บริษัทเอกชน และว่างงาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานให้การดูแล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) (Certificate Program for Nurses’ aides / Caregivers) จังหวัด
รหัสโครงการ FN66/0103
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......