แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
“ หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0043 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
บทคัดย่อ
โครงการ " หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0043 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รับสมัครผู้เรียน
- คัดเลือกผู้เรียน
- ปฐมนิเทศ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสัมฤทธิบัตร
- จัดการเรียนการสอน
- อบรม Module 1
- อบรม Module 2
- อบรม Module 3
- อบรม Module 4
- Coaching
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. รับสมัครผู้เรียน
วันที่ 29 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ ประชาสัมพันธ์ทางอีเมลถึงสถานประกอบการที่มีความร่วมมือ
เปิดรับสมัครรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565 ถึง 17 เมษายน 2565 ได้ผู้สมัครเข้าร่วมจำนวน 34 คน
รอบที่ 2 ขยายการรับสมัครไปจนถึงวันที่ 29 เมษายน 2565 สรุปจำนวนผู้สมัครทั้งหมดเป็นจำนวน 57 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 57 คน เป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 11 ราย (คิดเป็นร้อยละ 19.3) ของจำนวนผู้สมัครทั้งหมด เป็นบุคคลากรจากสถานประกอบการจำนวนทั้งสิ้น 44 คน (ร้อยละ 80.7) จาก 9 สถานประกอบการ
- บริษัท มินีแบ มิตซูมิ (ประเทศไทย) จำกัด
- บริษัท อินเทลลิเจนท์ คอนโทรล จำกัด
- สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
- บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำกัด
- บริษัท เอ็มเอ็มไอ พรีซิชั่น แอสเซมบลิ (ไทยแลนด์) จำกัด
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตระยอง
- บริษัท เอส เอ็น ซี ไพยองซาน อีโวลูชั่น จำกัด
- บริษัท อินฟินิตี้ พาร์ท จำกัด
- บริษัท เอส เอ็น ซี ครีเอติวิตี้ แอนโทโลจี จำกัด
40
0
2. คัดเลือกผู้เรียน
วันที่ 1 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
- ประกาศแจ้งกำหนดการสัมภาษณ์คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ
- สัมภาษณ์ความต้องการของผู้เข้าร่วมโครงการ ความคาดหวังของผู้เรียน ความคาดหวังของสถานประ พูดคุย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 58 คน
40
0
3. ปฐมนิเทศ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสัมฤทธิบัตร
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย ช่วงที่ 1 “เกี่ยวกับหลักสูตร Non-Degree : CAE”
- แผนการดำเนินกิจกรรม ขั้นตอน
- รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผล
- เงื่อนไขการรับสัมฤทธิบัตร
บรรยาย ช่วงที่ 2 “เกี่ยวกับ Simulation Technique”
- โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์
- ปัญหาทางวิศวกรรมด้าน Solid Mechanics
- ปัญหาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทความร้อน
- ปัญหาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการไหล
- กรณีศึกษา
บรรยาย ช่วงที่ 3 “เกี่ยวกับการทำโครงงานหรือ Capstone Project”
- การกำหนดหัวข้อโครงงาน
- เอกสารและการดำเนินโครงงาน
- การประเมินผลโครงงาน
บรรยาย ช่วงที่ 4 “ขั้นตอนและวิธีการ Coaching”
- เอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ช่องทางการติดต่อประสานงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แบ่งผู้เข้าร่วมอบรมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความสมัครใจของผู้เข้าอบรม
1. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม ANSYS (Onsite at SUT + Online Zoom)
2. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SUT + Online Zoom)
3. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SNC Rayong)
40
0
4. อบรม Module 1 - กลุ่ม 1
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง กลุ่ม 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches)
- การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads)
- การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence
- การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing)
- การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element)
- การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and Structure)
- การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element)
- กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ
- การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element)
- กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ
- การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis)
- การวิเคราะห์ความเสียหายจากการโก่งเดาะ (Buckling)
- การวิเคราะห์ความล้าของวัสดุ (Fatigue analysis)
- การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)
- กรณีศึกษาการหาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง
15
0
5. อบรม Module 1 - กลุ่ม 2
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน กลุ่ม 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น
- Heat transfer by conduction
- Convection boundary conditions
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว
- Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection
- การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ
- Analysis of an assembly
- Thermal contact conditions
การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow
การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
30
0
6. อบรม Module 1 - กลุ่ม 3
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches)
- การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads)
- การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence
- การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing)
- การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element)
- การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and
การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element)
- การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element)
- การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis)
- การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)
20
0
7. อบรม Module 2 - กลุ่ม 1
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น
- Heat transfer by conduction
- Convection boundary conditions
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว
- Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection
- การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ
- Analysis of an assembly
- Thermal contact conditions
การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow
การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
15
0
8. อบรม Module 2 - กลุ่ม 2
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches)
- การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads)
- การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence
- การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing)
- การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element)
- การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and Structure)
การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element)
- กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ
- การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element)
- กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ
ความเสียหายและความล้าของวัสดุ (Failure and Fatigue analysis)
- การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis)
- การวิเคราะห์ความเสียหายจากการโก่งเดาะ (Buckling)
- การวิเคราะห์ความล้าของวัสดุ (Fatigue analysis)
- การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)
- กรณีศึกษาการหาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง
30
0
9. อบรม Module 3 - กลุ่ม 2
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
อบรม Module 2 SolidWorks Flow Simulation
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์การไหล
30
0
10. อบรม Module 3 - กลุ่ม 1
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
การวิเคราะห์ปัญหาการไหล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทบทวนความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจำลองปัญหาการไหลด้วยคอมพิวเตอร์ (CFD) เช่น สมการควบคุมทางกลศาสตร์ของไหล กรรมวิธีทางปริมาตรจำกัด (Finite Volume method)
- หลักการ 3 ขั้นตอนของวิธีการทำ CFD การจำลองปัญหาการไหลใน 2 มิติด้วย CFD: การไหลภายใน (internal flow) และการไหลภายนอก (External flow)
- ปัญหา Couette flow ปัญหา Poiseuill flow
- ปัญหา Mixed flow (Couette + Poiseuill)
- Basic visualizations: velocity vectors, pressure contours, streamlines
- ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 2 มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow
การจำลองปัญหาการไหลใน 3 มิติด้วย CFD:
- ปัญหาไหลผ่านปีกเครื่องบิน
- ปัญหาการไหลผ่านรถยนต์
- การคำนวณแรงต้านอากาศ (Drag force)
- การคำนวณแรงยกอากาศ (Lift force)
- ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 3มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow
15
0
11. อบรม Module 3 - กลุ่ม 3
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรม Module 3 - SolidWorks Heat Simulation
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น
- Heat transfer by conduction
- Convection boundary conditions
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection
การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว
- Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection
- การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis
- การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ
- Analysis of an assembly
- Thermal contact conditions
การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow
การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก
- The interface between flow analysis and thermal analysis
- ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
20
0
12. อบรม Module 2 - กลุ่ม 3
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
อบรม Module 3 SolidWorks Flow Simulation
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
20
0
13. อบรม Module 4 - กลุ่ม 3
วันที่ 5 สิงหาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
อบรมการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SolidWorks
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0043
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
“ หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0043 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
บทคัดย่อ
โครงการ " หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0043 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รับสมัครผู้เรียน
- คัดเลือกผู้เรียน
- ปฐมนิเทศ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสัมฤทธิบัตร
- จัดการเรียนการสอน
- อบรม Module 1
- อบรม Module 2
- อบรม Module 3
- อบรม Module 4
- Coaching
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 1 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 2 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 3 - กลุ่ม 3
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 1
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 2
- อบรม Module 4 - กลุ่ม 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. รับสมัครผู้เรียน |
||
วันที่ 29 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์ทางสื่อต่างๆ ประชาสัมพันธ์ทางอีเมลถึงสถานประกอบการที่มีความร่วมมือ เปิดรับสมัครรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565 ถึง 17 เมษายน 2565 ได้ผู้สมัครเข้าร่วมจำนวน 34 คน รอบที่ 2 ขยายการรับสมัครไปจนถึงวันที่ 29 เมษายน 2565 สรุปจำนวนผู้สมัครทั้งหมดเป็นจำนวน 57 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 57 คน เป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 11 ราย (คิดเป็นร้อยละ 19.3) ของจำนวนผู้สมัครทั้งหมด เป็นบุคคลากรจากสถานประกอบการจำนวนทั้งสิ้น 44 คน (ร้อยละ 80.7) จาก 9 สถานประกอบการ
|
40 | 0 |
2. คัดเลือกผู้เรียน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 58 คน
|
40 | 0 |
3. ปฐมนิเทศ ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรสัมฤทธิบัตร |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำบรรยาย ช่วงที่ 1 “เกี่ยวกับหลักสูตร Non-Degree : CAE”
- แผนการดำเนินกิจกรรม ขั้นตอน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นแบ่งผู้เข้าร่วมอบรมออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความสมัครใจของผู้เข้าอบรม 1. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม ANSYS (Onsite at SUT + Online Zoom) 2. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SUT + Online Zoom) 3. กลุ่มที่ 1 การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SOLIDWORKS (Onsite at SNC Rayong)
|
40 | 0 |
4. อบรม Module 1 - กลุ่ม 1 |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง กลุ่ม 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
5. อบรม Module 1 - กลุ่ม 2 |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน กลุ่ม 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
|
30 | 0 |
6. อบรม Module 1 - กลุ่ม 3 |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches) - การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads) - การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence - การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing) - การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element) - การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element) - การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element) - การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis) - การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis)
|
20 | 0 |
7. อบรม Module 2 - กลุ่ม 1 |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายเทความร้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
|
15 | 0 |
8. อบรม Module 2 - กลุ่ม 2 |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ปัญหากลศาสตร์ของแข็ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นความรู้เบื้องต้น การใช้โปรแกรม (Analysis set up) ลำดับการวิเคราะห์งานวิศวกรรม (Preprocessing) แนวทางการสร้างแบบจำลอง (CAD modeling approaches) - การกำหนดเงื่อนไขขอบเขต (Boundary Conditions) และภาระกรรม (Loads) - การเลือกใช้เอลิเมนต์ (Elements) และการวิเคราะห์ mesh convergence - การแสดงภาพผลลัพธ์และการประมวลผล (Results visualization and post-processing) - การวิเคราะห์วัสดุท่อน (Rod element) - การวิเคราะห์คานและโครงสร้าง (Beam element and Structure) การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ (2D-element) - กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 2 มิติ - การวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ (3D-element) - กรณีศึกษาการวิเคราะห์เอลิเมนต์ 3 มิติ ความเสียหายและความล้าของวัสดุ (Failure and Fatigue analysis) - การวิเคราะห์ความเสียหาย (Failure analysis) - การวิเคราะห์ความเสียหายจากการโก่งเดาะ (Buckling) - การวิเคราะห์ความล้าของวัสดุ (Fatigue analysis) - การวิเคราะห์พลวัตและความถี่ธรรมชาติ (Dynamic and Frequency Analysis) - กรณีศึกษาการหาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้าง
|
30 | 0 |
9. อบรม Module 3 - กลุ่ม 2 |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำอบรม Module 2 SolidWorks Flow Simulation ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการวิเคราะห์การไหล
|
30 | 0 |
10. อบรม Module 3 - กลุ่ม 1 |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำการวิเคราะห์ปัญหาการไหล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทบทวนความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการจำลองปัญหาการไหลด้วยคอมพิวเตอร์ (CFD) เช่น สมการควบคุมทางกลศาสตร์ของไหล กรรมวิธีทางปริมาตรจำกัด (Finite Volume method) - หลักการ 3 ขั้นตอนของวิธีการทำ CFD การจำลองปัญหาการไหลใน 2 มิติด้วย CFD: การไหลภายใน (internal flow) และการไหลภายนอก (External flow) - ปัญหา Couette flow ปัญหา Poiseuill flow - ปัญหา Mixed flow (Couette + Poiseuill) - Basic visualizations: velocity vectors, pressure contours, streamlines - ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 2 มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow การจำลองปัญหาการไหลใน 3 มิติด้วย CFD: - ปัญหาไหลผ่านปีกเครื่องบิน - ปัญหาการไหลผ่านรถยนต์ - การคำนวณแรงต้านอากาศ (Drag force) - การคำนวณแรงยกอากาศ (Lift force) - ตัวอย่างและกรณีศึกษา การไหลใน 3มิติ ทั้งปัญหา Internal flow และ External flow
|
15 | 0 |
11. อบรม Module 3 - กลุ่ม 3 |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรม Module 3 - SolidWorks Heat Simulation ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบคงตัว สมการการนำความร้อน และสมการการพาความร้อน การวิเคราะห์ความร้อนเบื้องต้น - Heat transfer by conduction - Convection boundary conditions - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Steady-state heat conduction and steady-state heat convection การวิเคราะห์นำความร้อนและการพาความร้อนแบบไม่คงตัว - Transient thermal analysis for heat conduction and heat convection - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนและความเค้นอันเนื่องจากความร้อน - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Thermal stress analysis - การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนระหว่างชิ้นส่วนประกอบ - Analysis of an assembly - Thermal contact conditions การแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายใน - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with internal fluid flow การถ่ายเทความร้อนและการไหลภายนอก - The interface between flow analysis and thermal analysis - ตัวอย่าง และกรณีศึกษา Heat transfer with external fluid flow
|
20 | 0 |
12. อบรม Module 2 - กลุ่ม 3 |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำอบรม Module 3 SolidWorks Flow Simulation ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อน
|
20 | 0 |
13. อบรม Module 4 - กลุ่ม 3 |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2565กิจกรรมที่ทำอบรมการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SolidWorks ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
หลักสูตรการวิเคราะห์โครงสร้างชิ้นส่วนอุตสาหกรรมโดยการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0043
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......