แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
“ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0055 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตกำลังคนที่มีความสามารถในการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แบบคาร์ทิเซียน(หุ่นยนต์ 3 แกน) สามารถโปรแกรมหุ่นยนต์แบบคาร์ทิเซียน(หุ่นยนต์ 3 แกน XYZ) และแบบ Articulated Arm (หุ่นยนต์แขนกล 6 แกน) มีทักษะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT ไมโครคอนโทรลเลอร์ในการแก้ปัญหาปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นระบบอัตโนมัติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (2) รายวิชาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (3) วิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (4) ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (5) ฝึกปฏิบัติงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (6) ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (7) ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก (8) การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ (9) ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล (10) การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ (11) ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (12) หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม (13) ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์ (14) การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง (15) การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400 (16) ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 (17) ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 (18) ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ (19) ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ (20) ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ (21) ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
- รายวิชาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- วิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- ฝึกปฏิบัติงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม นิเทศ ประเมินผล และถอดบทเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ
- ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
- ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก
- การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่
- ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล
- การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ
- ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน
- หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม
- ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์
- การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง
- การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400
- ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400
- ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400
- ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์
- ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์
- ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
- ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ปฐมนิเทศนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาเข้าใจหลักการและเหตุผลของการดำเนินการโครงการ
26
0
2. ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก
วันที่ 7 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนและบรรยายในหัวข้อ ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาเข้าใจระบบกลไกและสามารถแบ่งประเภทของหุ่นยนต์ได้
5
0
3. การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่
วันที่ 8 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนและบรรยาย ตำแหน่ง เฟรม การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ ของหุ่นยนต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาเข้าใจการวางกรอบเฟรมพืนที่การทำงานของหุ่นยนต์
5
0
4. ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล
วันที่ 14 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ร่วมกับของจริงที่เกี่ยวข้องกับตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาเข้าใจหลีกการทำงานของตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
5
0
5. การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ
วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฎิบัติในการวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถเขียน DH parameter ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้
นักศึกษาสามารถหาตำแหน่งการเคลื่อนที่แบบไปข้างหน้าของของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้
4
0
6. ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน
วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ) ได้
4
0
7. หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม
วันที่ 5 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาเข้าใจลักษณะการเขียนโปรแกรมสำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
5
0
8. ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400
การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถจัดการกับไฟล์สำหรับการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง
สร้างโปรเจคไฟล์ใหม่ได้
เปิดไฟลเพื่อทำการแก้ไขโปรแกรมได้
ลบไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งานได้
บันทึกไฟล์ได้
5
0
9. การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง
วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยายและลงมือปฏิบัติการใช้คำสั่ง
MOVE J
MOVE L
ในการควบคุมหุ่นยนต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE J สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE L สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้
5
0
10. การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400
วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DO เพื่อสั่งงานเอาต์พุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DI เพื่ออ่านค่าอินพุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DO ในการสั่งงานตัวจับสญูญากาศในการเคลื่อนย้ายตำแหน่งได้
นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DI ร่วมกับคำสั่ง IF/ELSE ในการสั่งงานให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
4
0
11. ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400
การเขียนโปรแกรมควบคุมสเต็ปเปอร์มอเตอร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถเขียนเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 ได้
นักศึกษาเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำในการควบคุมตัวขับเคลื่อนที่เป็นสเต็ปเปอร์มอเตอร์ เคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง
4
0
12. ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ teach and playback สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link
นักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ ฺBlockly สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link
6
0
13. ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์
วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับโลหะ ที่มีเอาต์พุตชนิด PNP กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้
นักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับวัตถุ ที่มีเอาต์พุตชนิด NPN กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้
นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณไฟฟ้าสำหรับควบคุมการทำงานของตัวขับสเต็ปเปอร์มอเตอร์ได้
6
0
14. ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถต่อระบบนิวเมติกในการหยีบวัตถุ และเคลื่อนย้ายวัตถุได้
นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณทางไฟฟ้าในการสื่อสารกันระหว่างหุ่นยนต์อุตสาหกรรมกับระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็กได้
6
0
15. ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาสามารถใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 ทำงานร่วมกับเครื่องจักรกลอัตโนมัติได้
5
0
16. ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หรือหน่วยงานภาครัฐ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักศึกษาจำนวน 23 ได้เข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบ บริษัทอุดรมาสเตอร์เทค จำกัด และห้องปฏิบัตืการหุ่นยนต์เชื่อมอุตสาหกรรม
23
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0055
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
“ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0055 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตกำลังคนที่มีความสามารถในการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แบบคาร์ทิเซียน(หุ่นยนต์ 3 แกน) สามารถโปรแกรมหุ่นยนต์แบบคาร์ทิเซียน(หุ่นยนต์ 3 แกน XYZ) และแบบ Articulated Arm (หุ่นยนต์แขนกล 6 แกน) มีทักษะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT ไมโครคอนโทรลเลอร์ในการแก้ปัญหาปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เป็นระบบอัตโนมัติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (2) รายวิชาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (3) วิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (4) ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (5) ฝึกปฏิบัติงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (6) ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ (7) ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก (8) การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ (9) ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล (10) การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ (11) ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (12) หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม (13) ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์ (14) การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง (15) การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400 (16) ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 (17) ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 (18) ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ (19) ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ (20) ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ (21) ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
- รายวิชาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- วิชาการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- ระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
- ฝึกปฏิบัติงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม นิเทศ ประเมินผล และถอดบทเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ
- ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
- ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก
- การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่
- ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล
- การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ
- ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน
- หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม
- ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์
- การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง
- การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400
- ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400
- ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400
- ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์
- ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์
- ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
- ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ |
||
วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำปฐมนิเทศนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาเข้าใจหลักการและเหตุผลของการดำเนินการโครงการ
|
26 | 0 |
2. ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก |
||
วันที่ 7 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนและบรรยายในหัวข้อ ประเภทหุ่นยนต์อุตสาหกรรมส่วนประกอบ กลไก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาเข้าใจระบบกลไกและสามารถแบ่งประเภทของหุ่นยนต์ได้
|
5 | 0 |
3. การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนและบรรยาย ตำแหน่ง เฟรม การกำหนดเส้นทางการเคลื่อนที่ ของหุ่นยนต์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาเข้าใจการวางกรอบเฟรมพืนที่การทำงานของหุ่นยนต์
|
5 | 0 |
4. ศึกษาตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล |
||
วันที่ 14 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ร่วมกับของจริงที่เกี่ยวข้องกับตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาเข้าใจหลีกการทำงานของตัวขับเคลื่อน เซนเซอร์ ตัวประมวลผล ที่ใช้สำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
|
5 | 0 |
5. การวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฎิบัติในการวิเคราะห์จลนพลศาสตร์ สมการพิกัดอ้างอิง XYZ ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถเขียน DH parameter ของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้ นักศึกษาสามารถหาตำแหน่งการเคลื่อนที่แบบไปข้างหน้าของของหุ่นยนต์แบบ 3 แกนได้
|
4 | 0 |
6. ปฏิบัติการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถประกอบหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบ 3 แกน (XYZ) ได้
|
4 | 0 |
7. หลักการโปรแกรมหุ่นนยนต์อุตสาหกรรม |
||
วันที่ 5 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาเข้าใจลักษณะการเขียนโปรแกรมสำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
|
5 | 0 |
8. ปฎิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 การจัดการกับไฟล์ของหุ่นยนต์ |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรม dobot MG400 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถจัดการกับไฟล์สำหรับการเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง สร้างโปรเจคไฟล์ใหม่ได้ เปิดไฟลเพื่อทำการแก้ไขโปรแกรมได้ ลบไฟล์ที่ไม่ต้องการใช้งานได้ บันทึกไฟล์ได้
|
5 | 0 |
9. การควบคุมหุ่นยนต์แบบข้อต่อและแกนอ้างอิง |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยายและลงมือปฏิบัติการใช้คำสั่ง MOVE J MOVE L ในการควบคุมหุ่นยนต์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE J สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้ นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง MOVE L สำหรับควบคุมตำแหน่งการทำงานของเครื่องมือได้
|
5 | 0 |
10. การเขียนโปรแกรมสั่งงานเอาต์พุต และอ่านค่าอินพุต สำหรับหุ่นนต์ Dobot MG400 |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DO เพื่อสั่งงานเอาต์พุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย และปฏิบัติการใช้คำสั่ง DI เพื่ออ่านค่าอินพุตของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DO ในการสั่งงานตัวจับสญูญากาศในการเคลื่อนย้ายตำแหน่งได้ นักศึกษาสามารถใช้คำสั่ง DI ร่วมกับคำสั่ง IF/ELSE ในการสั่งงานให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
|
4 | 0 |
11. ปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 การเขียนโปรแกรมควบคุมสเต็ปเปอร์มอเตอร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถเขียนเขียนโปรแกรมให้หุ่นยนต์ทำงานด้วยภาษา Blockly สำหรับหุ่นยนต์ Dobot MG400 ได้ นักศึกษาเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำในการควบคุมตัวขับเคลื่อนที่เป็นสเต็ปเปอร์มอเตอร์ เคลื่อนที่ได้อย่างถูกต้อง
|
4 | 0 |
12. ศึกษาและทดสอบ ติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการติดตั้งระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ teach and playback สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link นักศึกษาสามารถทำการเขียนโปรแกรมแบบ ฺBlockly สำหรับหุ่นยนต์จำนวน 2 ตัวให้ทำงานร่วมกันได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า IO Link
|
6 | 0 |
13. ปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ |
||
วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อสัญญาณทางไฟฟ้าของเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับโลหะ ที่มีเอาต์พุตชนิด PNP กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้ นักศึกษาสามารถต่อเซนเซอร์สำหรับตรวจจับวัตถุ ที่มีเอาต์พุตชนิด NPN กับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้ นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณไฟฟ้าสำหรับควบคุมการทำงานของตัวขับสเต็ปเปอร์มอเตอร์ได้
|
6 | 0 |
14. ปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการต่อระบบนิวเมติกและการควบคุม ปฏิบัติการ IoT และไมโครคอนโทรลเลอร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถต่อระบบนิวเมติกในการหยีบวัตถุ และเคลื่อนย้ายวัตถุได้ นักศึกษาสามารถต่อสัญญาณทางไฟฟ้าในการสื่อสารกันระหว่างหุ่นยนต์อุตสาหกรรมกับระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็กได้
|
6 | 0 |
15. ปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการสอนโดยวิธีการบรรยาย ลงมือปฏิบัติการประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาสามารถใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรม Dobot MG400 ทำงานร่วมกับเครื่องจักรกลอัตโนมัติได้
|
5 | 0 |
16. ปฏิบัติการฝึกความชำนาญเกี่ยวกับการทำงานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การบำรุงรักษา |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หรือหน่วยงานภาครัฐ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักศึกษาจำนวน 23 ได้เข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบ บริษัทอุดรมาสเตอร์เทค จำกัด และห้องปฏิบัตืการหุ่นยนต์เชื่อมอุตสาหกรรม
|
23 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0055
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......