directions_run

การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์


“ การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0042 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0042 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 หลักการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  2. กิจกรรมที่ 3 การสร้างกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสม
  3. กิจกรรมที่ 2 ศักยภาพและขอจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภทส่งเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาสุขภาพ
  4. กิจกรรมที่ 4 ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวสุขภาพ
  5. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  6. กิจกรรมที่ 3 การสร้างกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสม
  7. กิจกรรมที่ 2 ศักยภาพและขอจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภทส่งเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาสุขภาพ
  8. ทักษะการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ธุรกิจนวดเพื่อสุขภาพ
  9. ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ
  10. ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ
  11. เทคนิคการนวดไทยแบบราชสำนัก
  12. ทบทวน ทดสอบ การนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ การนวดไทยแบบราชสำนัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 หลักการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 ณ คณะเทคโนโลยีการจัดการ   08 : 00 น.18:00 น. ฟังบรรยายเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปพื้นฐานของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เรียนได้ความรู้พื้นฐานในด้านการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ สามารถนำไปจัดกิจกรรมในการประกอบอาชีพได้

 

20 0

2. กิจกรรมที่ 3 การสร้างกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสม

วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการบรรยายเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการนำศักยภาพที่ มีมาสร้างเป็นกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสมได้ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมการสร้างกิจกรรมนำเที่ยวและสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถสร้างกิจกรรม นำเที่ยวได้ มีความเป็นผู้นำกล้าคิด กล้าแสดงออก แสะสามารถถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้

 

20 0

3. กิจกรรมที่ 2 ศักยภาพและขอจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภทส่งเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาสุขภาพ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการบรรยายให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว เข้าใจถึงข้อจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภท ส่งเสริมสุขภาพ และบำบัดรักษาสุขภาพ สามารถปฏิบัติตามและมีจิตสำนึกในจรรยาบรรณวิชาชีพได้  นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมสุมยาเพื่อสุขภาพ ช่วยในเรื่องของระบบทางเดินหายใจและกิจกรรมทำน้ำมันอโรม่าเพื่อความผ่อนคลายของร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถ อธิบายและเข้าใจในด้านศักยภาพต่างๆของแหล่งท่องเที่ยวได้ และสามารถให้คำแนะนำในการให้บริการทางการท่องเที่ยว เช่น นักท่องเที่ยวมีความเหนื่อยล้าจากการทำงาน ผู้เรียนสามารถแนะนำสถานที่ที่ช่วยในการผ่อนคลาย ฟื้นฟูความเมื่อยล้าได้ และหากมีภาวะทางจิตใจหรือร่างกาย ก็สามารถแนะนำสถานที่ ที่สามารถบำบัดเฉพาะเจาะจงได้เช่นกัน

 

20 0

4. ทักษะการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ธุรกิจนวดเพื่อสุขภาพ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายในหัวข้อ ทักษะการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ธุรกิจนวดเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจสถานการณ์ของเทรนการท่องเที่ยวในปัจจุบัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันเพื่อมองหาอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมของตนได้  ช่องทางที่สามารถสร้างรายได้ให้ตนเอง ขั้นตอนการเป็นเจ้าของกิจการ  และแนวโน้มทางการท่องเที่ยวในปัจจุบัน

 

20 0

5. ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ

วันที่ 14 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ 5 กลุ่ม
                        -    พื้นฐานการคล้ายกล้ามเนื้อก่อนนวด -    วิธีการนวด
                        -    กระบวนการนวดขั้นพื้นฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถจำท่าพื้นฐานของการนวดได้ โดยสามารถแลกเปลี่ยนและแนะนำภายในกลุ่ม มีความพร้อมในการเรียนรู้ท่าหลักๆได้

 

20 0

6. ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ

วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ 5 กลุ่ม
- เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถทบทวนพื้นฐานการนวด และเริ่มท่านวดไทยแบบเชลยศักดิ์ได้ ตามกระบวนท่า สามารถถ่ายทอดและแนะนำในกลุ่มได้

 

20 0

7. เทคนิคการนวดไทยแบบราชสำนัก

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ 5 กลุ่ม
- เทคนิคการนวดไทยแบบราชสำนัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถทบทวนท่าพื้นฐาน เพื่อเริ่มเรียนการนวดแบบราชสำนักได้ และสามารถจดจำตามกระบวนท่าของท่านวดแบบราชสำนัก สามารถถ่ายทอดแนะนำในกลุ่มได้

 

20 0

8. ทบทวน ทดสอบ การนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ การนวดไทยแบบราชสำนัก

วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ 5 กลุ่ม
-    เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ -    เทคนิคการนวดไทยแบบราชสำนัก ในระหว่างเรียนการปฏิบัติ ผู้เรียนสามารถ เก็บชั่วโมงตามสถานประกอบการณ์ หรือร้านนวดที่ให้ความร่วมมือได้โดยให้ครบ 150 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถทบทวนท่านวดได้ครบทุกกระบวนท่า สามารถลงหน้างานได้จริง สามารถลงน้ำหนักมือได้ตามระดับมาตรฐาน  สามารถวิเคราะห์อาการและสามารถนวดฟื้นฟูหรือบำบัดเบื้องต้นได้

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 หลักการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 3 การสร้างกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสม (3) กิจกรรมที่ 2 ศักยภาพและขอจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภทส่งเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 4 ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวสุขภาพ (5) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (6) กิจกรรมที่ 3 การสร้างกิจกรรมนำเที่ยวเชิงสุขภาพที่เหมาะสม (7) กิจกรรมที่ 2 ศักยภาพและขอจำกัดของการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้งประเภทส่งเสริมสุขภาพและบำบัดรักษาสุขภาพ (8) ทักษะการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ธุรกิจนวดเพื่อสุขภาพ (9) ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ (10) ธุรกิจการนวดเพื่อสุขภาพ (11) เทคนิคการนวดไทยแบบราชสำนัก (12) ทบทวน ทดสอบ การนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ การนวดไทยแบบราชสำนัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การฝึกทักษะเชิงปฏิบัติการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0042

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด