directions_run

การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


“ การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0103 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป



บทคัดย่อ

หลักสูตรการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
  2. ค่าเช่าสถานที่
  3. Module1 สร้างสรรค์ตัวตนในสื่อดิจิทัล
  4. ปฐมนิเทศ
  5. ประเมินผลและจัดทำรายงาน
  6. Module2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น
  7. Module3 การประยุกต์นำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ
  8. ค่าลงสื่อประชาสัมพันธ์บนเฟซบุ๊ก
  9. ค่าส่งเอกสาร ค่าเดินทาง
  10. ค่าออกแบบสื่อ
  11. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ และคณะช่วยประสานงาน
  12. ค่าติดต่อสื่อสาร
  13. อุปกรณ์สำนักงาน และการจัดทำรายงาน
  14. ค่าเช่าสถานที่
  15. Design Thinking
  16. ปฐมนิเทศ
  17. การออกแบบและสุนทรียศาสตร์
  18. ประเมินผลและจัดทำรายงาน
  19. การรู้จักตัวตนและสร้างอัตลักษณ์ในสื่อดิจิทัล
  20. การออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ในสื่อดิจิทัล
  21. การริเริ่มสร้างธุรกิจในสื่อดิจิทัล
  22. ภูมิทัศน์สื่อดิจิทัล การรู้เท่าทันและการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัล
  23. การวิเคราะห์ผู้บริโภค
  24. ทักษะการเล่าเรื่องและการเขียนบท
  25. หลักการถ่ายทำเพื่อสื่อดิจิทัล
  26. การตัดต่อภาพ
  27. ศึกษาดูงาน และนำเสนอผลงาน
  28. การสร้างเครือข่ายในโลกดิจิทัล
  29. การสร้างโอกาสใหม่ในโลกดิจิทัล
  30. การตลาดจากเนื้อหา
  31. การนำเสนอธุรกิจบนสื่อดิจิทัล
  32. DMA#01 Big Showcase Day

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การลงสื่อประชาสัมพันธ์บนเฟซบุ๊ก

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าจ้างลงสื่อประชาสัมพันธ์ใน Facebook

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าจ้างลงสื่อประชาสัมพันธ์ใน Facebook

 

50 0

2. ค่าส่งเอกสาร ค่าเดินทาง

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าส่งเอกสาร ค่าเดินทาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าส่งเอกสาร ค่าเดินทาง

 

50 0

3. ค่าออกแบบสื่อ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าออกแบบสื่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าออกแบบสื่อ

 

50 0

4. ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ และคณะช่วยประสานงาน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่คณะช่วยประสานงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่คณะช่วยประสานงาน

 

50 0

5. ค่าเช่าสถานที่

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าเช่าสถานที่ สำหรับจัดการเรียนการสอน ห้อง Studio
  • ค่าเช่าสถานที่ สำหรับการนำเสนอผลงาน (DMA#1 Big Showcase Day)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ใช้ studio ในการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การตัดต่อ การทำ Clip Video ด้วย Program CAP Cut
  • ใช้ Maker Space ในการจัดกิจกรรม DMA#1 Big Showcase Day ในวันที่ 26 มิถุนายน 2565

 

50 0

6. ค่าติดต่อสื่อสาร

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดซื้อ Account Zoom และ Cloud Recording เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน
  • ติดต่อผู้เรียน วิทยากร และบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อประสานงานด้านต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดซื้อ Account Zoom และ Cloud Recording เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน ระยะเวลา 3 เดือน
  • ติดต่อผู้เรียน วิทยากร และบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

50 0

7. อุปกรณ์สำนักงาน และการจัดทำรายงาน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าถ่ายเอกสาร
  • กระดาษห่อของขวัญ
  • ชุดตรวจ ATK
  • อุปกรณ์สำนักงาน ต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ดำเนินการจัดทำเล่มรายงานผลการจัดดำเนินการหลักสูตร

 

50 0

8. ปฐมนิเทศ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. แนะนำคณะที่ปรึกษา (คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์  และคณบดีคณะนิเทศศาสตร์) และคณะทำงาน: คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิค และเจ้าหน้าที่ดูแลผู้เข้าอบรม
  2. แนะนำหลักสูตร "การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป" โดย หัวหน้าโครงการ
  3. กิจกรรมแนะนำผู้เข้าอบรม
  4. แนะนำการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น อุปกรณ์การเรียน วิธีการเรียน การส่งงาน การเช็คชื่อเข้าเรียน และข้อตกลงอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมที่เข้าร่วมปฐมนิเทศ มีจำนวน 49 คน
  2. คณจารย์และคณะทำงาน 13 คน

 

50 0

9. Design Thinking

วันที่ 7 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. แนะนำหลักสูตร และคณะทำงาน (คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่)
  2. บรรยาย ประกอบ Powerpoint เรื่อง "ก้าวสู่โลกความคิดสร้างสรรค์"  และ "กระบวนการคิดสร้างสรรค์" โดย  ผศ. ทิพย์ลักษณ์ โกมลวณิช และอาจารย์กมลศิริ วงศ์หมึก
  3. บรรยาย ประกอบ Powerpoint เรื่อง "Design Thinking ด้วยเทคนิค SCAMPER" โดย  ผศ. ทิพย์ลักษณ์ โกมลวณิช และอาจารย์กมลศิริ วงศ์หมึก
  4. Workshop เรื่อง SCAMPER
  5. ผู้เข้าอบรมนำเสนอผลงาน
  6. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้เข้าอบรมและคณาจารย์ วิทยากร และผู้ช่วยวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลการประเมินการจัดการเรียนรู้ วันที่ 7 พ.ค. พบว่า ผู้เข้าอบรมมีแสดงค่าระดับของความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
    1 ก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมมีความรู้ในเนื้อหา ในระดับปานกลาง (2.05)
    2 หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร ในระดับดีมาก (4.23)
    3 หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน ในระดับดีมาก (4.25)
    4 ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา ในระดับดีมาก (4.13)
    5 วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน ในระดับดีมาก (4.58)
    6 วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง ในระดับดีมาก (4.40)
    7 วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ในระดับดีมาก (4.40)
    8 วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม ในระดับดีมาก (4.70)
    9 วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย ในระดับดีมาก (4.55)
    10 โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี ในระดับดีมาก (4.44)
    11 สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี ในระดับดีมาก (4.20)
    12 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ M1:ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างตัวตนเพื่อธุรกิจในสื่อดิจิทัล ในระดับดี  (3.95)
    13 หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด ในระดับดีมาก (4.00)
    14 เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว ในระดับดีมาก (4.53)
    15 เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในระดับดีมาก (4.70)

  • สรุปในภาพรวม ผู้เข้าอบรมมีค่าระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก โดยเมื่อพิจารณารายข้อพบว่า มีความเห็นด้วยในประเด็นที่วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมซักถาม และในด้านของเจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

  • นอกจากนี้ ผู้เข้าอบรม ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ ดังนี้
    • ดีมากแล้วครับ, ชื่นชมอาจารย์ทุกท่านที่มอบความรู้เข้าใจง่ายคะ, อาจารย์อธิบายชัดเจน  ทำงานเป็นทีม รับส่งช่วยกันดีเลยค่ะ • ใช้เวลาการเรียนมากเกินไปค่ะ ทำให้แทนที่จะสะดวก แก้เครียดกับการเรียนแทนค่ะ หากปรับได้ ขอให้ลดลงวันละ 1 ชม. ค่ะ • บางคำบรรยาย ผู้รับการอบรม สว.อาจจะฟังไม่ค่อยทัน slow down, please, ช่วงWorkshop ยังเป็นปัญหาสำหรับผู้ไม่มีพื้นความรู้ด้านไอที
  • ข้อแนะนำต่างๆ ได้นำมาปรับปรุงแก้ไขในการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป

 

50 0

10. การออกแบบและสุนทรียศาสตร์

วันที่ 8 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยายประกอบ Powerpoint เรื่อง "สัมผัสโลกแห่งการออกแบบและสุนทรียศาสตร์"
  2. บรรยายเรื่อง "เทรนด์โลกและแนวโน้มทาง การออกแบบ"
  3. บรรยายเรื่อง "สุนทรียะทางการออกแบบ"
  4. Workshop:  Mind Mapping
  5. Activity: Creativity Collage

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เข้ารับการอบรมพบว่า ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ดังนี้
1.    ก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมมีความรู้ในเนื้อหา อยู่ในระดับปานกลาง (2.58) 2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก  (4.33) 3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน อยู่ในระดับดีมาก  (4.22) 4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา อยู่ในระดับดีมาก  (4.22) 5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน อยู่ในระดับดีมาก  (4.67) 6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง อยู่ในระดับดีมาก  (4.53) 7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก  (4.53) 8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม อยู่ในระดับดีมาก  (4.72) 9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย อยู่ในระดับดีมาก  (4.61) 10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี อยู่ในระดับดีมาก  (4.47) 11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี อยู่ในระดับดีมาก  (4.25) 12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความคิดสร้างสรรค์ Module 1 สร้างตัวตนเพื่อธุรกิจในสื่อดิจิทัล อยู่ในระดับดีมาก  (4.03) 13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด อยู่ในระดับดีมาก  (4.03) 14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว อยู่ในระดับดีมาก  (4.53) 15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับดีมาก  (4.70)

-- ผู้เข้าอบรม ร่วมกิจกรรม Wokshop Mindmapping และสร้างผลงาน Mind mapping ได้จำนวน 32 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 68.08

 

50 0

11. ประเมินผลและจัดทำรายงาน

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลและจัดทำรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประเมินผลและจัดทำรายงาน

 

50 0

12. การรู้จักตัวตนและสร้างอัตลักษณ์ในสื่อดิจิทัล

วันที่ 14 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย เรื่อง "การรู้จักตัวตนและสร้างอัตลักษณ์ในสื่อดิจิทัล (Self-Awareness and Creating Character Identity in Digital Media) กรณีศึกษา แบรนด์ ALLY" โดยวิทยากรพิเศษ  คุณภานุพัฒน์ แสวงหอม (เจ้าของแบรนด์ Ally)
  2. บรรยาย เรื่อง "การรู้จักตัวตนและสร้างอัตลักษณ์ในสื่อดิจิทัล (Self-Awareness and Creating Character Identity in Digital Media) กรณีศึกษา แบรนด์ผ้าไทย ค้ำคูณ" โดยวิทยากรพิเศษ  คุณบุญศักดิ์ ยุระตา (แบรนด์ผ้าไทยค้ำคูณ)
  3. ศึกษาดูงาน ที่ ค้ำคูณ แกลเลอรี่
  4. ร่วมเสวนากับนักออกแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งที่ได้เรียนรู้ ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบบรมมีความรู้ด้านการสร้างอัตลักษณ์ อยู่ในระดับ ปานกลาง (2.71)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก (4.26)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน อยู่ในระดับดีมาก (4.19)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน อยู่ในระดับดีมาก (4.65)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง อยู่ในระดับดีมาก (4.45)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีมาก (4.39)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย อยู่ในระดับดีมาก (4.45)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี อยู่ในระดับดีมาก (4.23)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี อยู่ในระดับดีมาก (4.00)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ อยู่ในระดับดี (3.97)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด อยู่ในระดับดี (3.87)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว อยู่ในระดับดีมาก (4.47)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ อยู่ในระดับดีมาก (4.68)

-- สรุปในภาพรวม ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ ของวิทยากรที่ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน และสามารถนำความรู้นั้นไปต่อยอดได้เป็นอย่างดี
-- การศึกษาดูงาน ที่ ค้ำคูณ แกลเลอรี่ ทำให้ผู้เข้าอบรมได้เห็นถึงกระบวนการสร้างอัตลักษณ์จากจุดเริ่มต้น พัฒนามาสู่การผลิตเป็นแบรนด์สินค้า ของตนเอง ทั้งยังได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักออกแบบ และผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ส่งเสริมให้เกิดแรงบันดาลใจในการผลิตงานของตนเองต่อไป

 

50 0

13. การออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ในสื่อดิจิทัล

วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย เรื่อง  “การออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ในสื่อดิจิทัล: กระตุ้นไอเดียเพื่อสร้างธุรกิจเชิงสร้างสรรค์” โดย คุณจักรพันธ์  ศรีจันทร์ทัพ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ฮับไวเซอร์ จำกัด  ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางด้านการออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์
  2. บรรยายเรื่อง “การออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ : กรณีศึกษา งานออกแบบภายใน” โดย คุณกมลเทพ จำนงค์
  3. Workshop: เล่าเรื่อง "ฉันอยากขาย.."
  4. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันระหว่างผู้เข้าอบรม คณาจารย์ และนักออกแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียน พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ดังนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในในเนื้อหานี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.55)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.34)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.45)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.31)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.72)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.62)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.55)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.52)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.69)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.41)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.14)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.45)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.24)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.69)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับประเด็นนี้ในระดับดีมาก (4.72)

-- สรุปในภาพรวม ผู้เข้าอบรมได้รับประโยชน์จากวิทยากร และมีความเห็นว่า วิทยากรเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ตรง  นอกจากนี้ ผู้เข้าอบรมเห็นว่าเจ้าหน้าที่ ประสานงาน เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเอง -- ผลจากการร่วม Workshop เรื่อง เล่าเรื่อง "ฉันอยากขาย.."  มีผู้นำเสนอจำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27
-- ข้อสังเกตจากการเล่าเรื่อง "ฉันอยากขาย" พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนมาก นำเสนอเนื้อหาที่มาจากสินค้าที่ตนเองเริ่มต้นผลิตขึ้น และกำลังมองหาวิธีการนำเสนอ / การผลิตสื่อดิจิทัลที่ช่วยส่งเสริมการขาย

 

50 0

14. การริเริ่มสร้างธุรกิจในสื่อดิจิทัล

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยายเรื่อง "การริเริ่มสร้างธุรกิจในสื่อดิจิทัล" โดย ผศ. ทิพย์ลักษณ์ โกมลวณิช
  2. Workshop: การจัดระบบความคิดด้วย 9 Metrix
  3. บรรยายเรื่อง "การริเริ่มสร้างธุรกิจในสื่อดิจิทัล: กรณีศึกษา แบรนด์ Brown Sugar" โดย คุณเมธาวี อ่างทอง  เจ้าของ Brand Black Sugar
  4. เสวนา ร่วมกับนักออกแบบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลการสำรวจความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมในประเด็นต่างๆ พบว่า
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับปานกลาง (2.92)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.63)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.46)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.75)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.75)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.79)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.88)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.79)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.63)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ว่า อยู่ในระดับดีมาก (4.83)

-- จากการที่ผู้เข้าอบรม ร่วมกิจกรรม workshop เรื่อง การจัดระบบความคิดด้วย 9 Metrix พบว่า มีผู้ส่งงานจำนวน 27 คน ผลงานของผู้เรียนได้รับการแนะนำ และร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปต่อยอดได้

 

50 0

15. ภูมิทัศน์สื่อดิจิทัล การรู้เท่าทันและการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัล

วันที่ 22 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยายเรื่อง "ภูมิทัศน์สื่อดิจิทัล" "องค์ประกอบของสื่อดิจิทัล และประเภทของสื่อดิจิทัล" และ"บทบาทและอิทธิพลของสื่อดิจิทัล" โดย ดร.การดา ร่วมพุ่ม
  2. Workshop: การรู้เท่าทันและการประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัล โดย ดร.การดา ร่วมพุ่ม
  3. ถาม-ตอบ ข้อสงสัย และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-- จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.19)
2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.30)
4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.77)
9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.12) 14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สุภาพ ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.69)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง -- ผู้เรียน นำเสนอแนวทางการผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถนำมาใช้ในงานธุรกิจของตนเองได้

 

50 0

16. การวิเคราะห์ผู้บริโภค

วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย โดย อาจารย์เบ็ญจมาภรณ์ สุธิราวุธ
    เรื่อง
    ● การวิเคราะห์ผู้บริโภคเชิงลึกสำหรับสื่อดิจิทัล
    ● เส้นทางผู้บริโภคที่สัมผัสแบรนด์
    ● การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลผู้บริโภค
    ● การกำหนดบุคลิกลักษณะของผู้บริโภคเป้าหมาย
    ● เครื่องมือที่ใช้ออกแบบสินค้าและบริการ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้ลูกค้าเป้าหมาย (Value Proposition Canvas:)
  2. Workshop: ฝึกปฏิบัติเขียน Customer Persona
  3. นำเสนอผลงาน
  4. ถาม-ตอบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.42)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.19)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.23)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.15)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.88)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.85)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.69)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง  -- ผู้เรียน ใช้ One Page Marketing Plan นำเสนอแนวทางธุรกิจของตนเองได้

 

50 0

17. ทักษะการเล่าเรื่องและการเขียนบท

วันที่ 29 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย โดย อาจารย์วรลักษณ์ กล้าสุคนธ์ เรื่อง
    ●   ทักษะการเล่าเรื่องและการเขียนบท
    ●   แหล่งข้อมูลและการคิดประเด็นการเล่าเรื่อง
  2. บรรยาย โดย อาจารย์วรลักษณ์ กล้าสุคนธ์ เรื่อง
    ●    เทคนิคการเล่าเรื่อง ●    ประเภทของบทและทักษะการเขียนบท
  3. Workshop: ทักษะการเล่าเรื่อง
  4. ถาม-ตอบ และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.43)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.26)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.17)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.30)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.65)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.735)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.09)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.87)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.96)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.09)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง  -- ผู้เรียน นำเสนอแนวทางการผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถนำมาใช้ในงานธุรกิจของตนเองได้ - LO2.2: ออกแบบและเลือกใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล -- จาก Workshop: ทักษะการเล่าเรื่อง ผู้เรียนสามารถนำเสนอเนื้อหาที่ต้องการบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้า/งานบริการของตนเองได้

 

50 0

18. หลักการถ่ายทำเพื่อสื่อดิจิทัล

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย โดย ผศ. ดร. มาโนช ชุมเมืองปัก
    ●    หลักการถ่ายทำเพื่อสื่อดิจิทัล
    ●    อุปกรณ์ในการถ่ายทำ ●    การตั้งค่าพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการถ่ายทำ ●     ภาพกับการเล่าเรื่อง ●     เทคนิคการถ่ายทำเพื่อเพิ่มความน่าสนใจ ●     ปัญหาที่มักพบในการถ่ายทำและการแก้ไข
  2. Workshop: Workshop 9 การเล่าเรื่อง
  3. นำเสนอผลงาน และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.48)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.67)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.52)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.52)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.52)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.33)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.33)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.29)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.71)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง  -- ผู้เรียน นำเสนอแนวทางการผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถนำมาใช้ในงานธุรกิจของตนเองได้ - LO2.2: ออกแบบและเลือกใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล -- ผู้เรียน ส่งผลงานการเล่าเรื่อง จำนวน 41 เรื่อง จากผู้เข้าอบรม 50 คน คิดเป็น ร้อยละ 82

 

50 0

19. การตัดต่อภาพ

วันที่ 5 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย  โดย ผศ.ดร. มาโนช ชุมเมืองปัก
    ●   หลักการตัดต่อลำดับภาพ เทคนิคพิเศษ และงานกราฟิกเพื่อสื่อดิจิทัล
    ●   อุปกรณ์ในการตัดต่อ ●   แนวคิดพื้นฐานและกระบวน การตัดต่อ ●   ประเภทของการเชื่อมต่อภาพ ●    การนำเสียงมาใช้ ●    การออกแบบกราฟิกเบื้องต้นในงานตัดต่อ
  2. Workshop: Workshop 10 การผลิตสื่อ Upskill VDO Production Part 1
  3. ผู้เรียนปฏิบัติงาน ณ Studio คณะนิเทศาสตร์
  4. คณะทำงาน นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ ดูแล และให้คำแนะนำตลอดการลงมือปฏิบัติงาน
  5. นำเสนอผลงาน และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.47)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.20)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.33)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.20)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.67)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.53)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.67)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.40)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.40)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.00)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.00)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง  -- ผู้เรียน นำเสนอแนวทางการผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถนำมาใช้ในงานธุรกิจของตนเองได้ - LO2.2: ออกแบบและเลือกใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล -- ผู้เรียน ปฏฺบัติงานผลิตสื่ิดิจิทัล ด้วยโปรแกรม Capcut ได้ผลงานจำนวน 35 ชิ้น คิดเป็นร้อยละ 70 จากผู้เข้าอบรม

 

50 0

20. ศึกษาดูงาน และนำเสนอผลงาน

วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ศึกษา ดูงานสถานประกอบการด้านการผลิตสื่อดิจิทัล (Online)  3 แห่ง คือ
    บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำกัด บริษัท โมโน บรอดคาซท์ จำกัด บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)
  2. เสวนาร่วมกันระหว่าง ผู้เข้าอบรม และคณาจารย์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. ผู้เข้าอบรมนำเสนอผลงาน "สื่อดิจิทัล" Draft 1
  4. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการผลิตสื่อดิจิทัล
    -- โดย อาจารย์ผู้สอน: ผศ.ดร.มาโนช ชุ่มเมืองปัก  และคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.50)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.15)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.60)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.75)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.60)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.65)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.65)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.30)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.00)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.70)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production)
- LO1.2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ -- ผู้เรียน นำเสนอผลงาน การวิเคราะห์ข่าว เป็นรายกลุ่ม และสามารถยกตัวอย่างได้อย่างสอดคล้องกับหลักการที่เรียนไป
- LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง  -- ผู้เรียน นำเสนอแนวทางการผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ที่สามารถนำมาใช้ในงานธุรกิจของตนเองได้ - LO2.2: ออกแบบและเลือกใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล -- ผู้เรียน สามารถผลิตสื่อดิจิทัลที่นำเสนอสินค้า/ธุรกิจของตนเองได้ด้วย Program CAPCUT -- จากการลงมือปฏิบัติงาน Wokshop: Workshop 10 การผลิตสื่อ Upskill VDO Production Part 1 สามารถนำแนวทางที่ได้รับมาผลิตผลงานของตนเองใน Workshop 11 VDO Production Part 2 ได้ เป็นแบบร่าง จำนวน 34 ผลงาน คิดเป็นร้อยละ 68 จากผู้เข้าอบรมทั้งหมด

-- เนื่องจากการเรียนการสอนในครั้งนี้ เป็นครั้งสุดท้ายของ Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production) ซึ่งเป็น Module ที่มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำเอาความรู้และทักษะที่ได้มาพัฒนาสู่การผลิตสื่อดิจิทัลของตนเอง ผลการเรียนพบว่า ผู้เรียนที่เข้ารับการอบรมอย่างเนื่อง มาตั้งแต่ Module 1 (คือผู้ที่มีเวลาเรียนมากกว่าร้อยละ 60) สามารถนำเสนอ draft1 ของผลงานของตนเองได้ และมีความมั่นใจในการทำงานมากยิ่งขึ้น สังเกตได้จากความกล้าในการแสดงออก และการมีส่วนแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมกันเสนอแนวทางให้กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน ส่งผลให้เกิดบรรยากาศของการเรียนรู้ที่มีความเป็นกัลยาณมิตรยิ่ง

 

50 0

21. การสร้างเครือข่ายในโลกดิจิทัล

วันที่ 12 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยายพิเศษ โดย ดร. ศุภธิดา พรหมพยัคฆ์ ผู้ก่อตั้งและผู้บริหาร บริษัท ดิ เอสเคิร์ฟ จำกัด
    ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้าน การสร้างตัวตนบนโลกอินเตอร์เนต และการต่อยอดการเข้าถึงธุรกิจ  ในหัวข้อเรื่อง "การสร้างเครือข่ายในโลกดิจิทัล"
  2. ถาม-ตอบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. บรรยาย เรื่อง "อุปกรณ์การ Live" สำหรับการผลิตสื่อดิจิทัล โดย อาจารย์ธนิต จึงดำรงกิต
  4. ติดตามความคืบหน้างาน Final Project โดยมีคณาจารย์และทีมงานให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.19)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.30)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.77)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.12)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.69)

-- การจัดการเรียนการสอนในครั้งนี้ เริ่มต้นเข้าสู่ Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business)
ซึ่ง Learning Outcome ที่ประกอบไปด้วย
- LO2.3: ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ -- ผู้เรียน ทุกคนนำเสนอความคืบหน้าของงาน Final Project
- LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง -- ผู้เรียน นำเสนอความคืบหน้า โดยมีการแสดงให้เห็นถึงการเชื่อมโยงกับสินค้า/งานบริการที่เป็นของตนเอง บางคนยังไม่มีสินค้า ก็สามารถใช้สิ่งที่เป็นงานอดิเรก เช่น การปลูกต้นไม้ การทำขนม มาเป็นโจทย์ตั้งต้น และพัฒนาเป็นผลงานสื่อดิจิทัลได้อย่างเป็นรูปธรรม

 

40 0

22. การสร้างโอกาสใหม่ในโลกดิจิทัล

วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยายพิเศษ โดย อาจารย์วีรพล สวรรค์พิทักษ์  ผู้เชี่ยวชาญด้าน Digital Marketing
    หัวข้อเรื่อง  ● การสร้างโอกาสใหม่ในโลกดิจิทัล
  2. ถาม-ตอบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวืทยากรพิเศษ
  3. ช่วงเวลาให้คำปรึกษา งาน Final Project โดย คณาจารย์ และคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.19)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.38)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.30)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.58)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.77)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.73)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.42)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 2: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.35)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.12)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.69)

Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business)
- LO2.3 ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ -- ผู้เข้าอบรม นำเสนอแนวทางการผลิตผลงาน (ความคืบหน้างาน) โดยมีอาจารย์และทีมงานให้คำแนะนำ โดยผู้เข้าอบรมทุกคนมีผลงานนำเสนอความคืบหน้าอย่างเป็นรูปธรรม
- LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง -- ผู้เข้าอบรมได้ฟังการบรรยายของวิทยากรพิเศษ และมีส่วนร่วมในการพูดคุย ตอบข้อซักถาม จนได้แนวทางในการพัฒนาผลงานของตนเองต่อไป

 

40 0

23. การตลาดจากเนื้อหา

วันที่ 19 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย เรื่อง "การตลาดจากเนื้อหา" โดย ผศ.ศิวนารถ หงษ์ประยูร
  2. Workshop: การตลาดในเนื้อหา
  3. ผู้เข้าอบรมปฏิบัติงาน โดยมีทีมอาจารย์ และเจ้าหน้าดูแล ให้คำแนะนำ
  4. ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
  5. ติดตามความคืบหน้างาน Final Project โดยผู้เรียนนำเสนอผลงาน และทีมอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ให้คำปรุึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับปานกลาง (2.80)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.57)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.10)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.80)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.52)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.48)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.62)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.67)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.24)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.19)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 3: ท่านสามารถประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ ได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.43)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.19)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.80)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.80)

Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business)
- LO2.3: ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ -- ผู้เข้าอบรมผ่าน Workshop การตลาดจากเนื้อหา และสามารถสร้างพื้นที่การตลาดบน Facebook ได้
- LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง

 

50 0

24. การนำเสนอธุรกิจบนสื่อดิจิทัล

วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. บรรยาย เรื่อง "การนำเสนอธุรกิจของตนเองบนสื่อดิจิทัล" โดย ผศ. ณธกร อุไรรัตน์ และอาจารย์ กิรติ ศรีสุชาติ
  2. ถาม-ตอบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  3. นำเสนอความคืบหน้าของงาน Final Project โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษา และทีมเจ้าหน้าที่และนักศึกษา ให้คำแนะนำ ทั้งในด้านเนื้อหา และเทคนิคการผลิตสื่อดิจิทัล
  4. คณะทำงานจัดเตรียมความพร้อมสำหรับงาน DMA#01 Big Showcase Day ในวันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน 2565 ณ Maker Space มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นที่มีต่อประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
  1. ก่อนการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับน้อย (1.77)
  2. หัวข้อกิจกรรมมีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.54)
  3. หัวข้อกิจกรรมมีสอดคล้องกับความต้องการของท่าน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  4. ระยะเวลาการบรรยายหรือฝึกปฏิบัติการเหมาะสมกับเนื้อหา -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.59)
  5. วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.59)
  6. วิทยากรมีการลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.36)
  7. วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.45)
  8. วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.63)
  9. วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.59)
  10. โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.40)
  11. สัญญาณอินเทอร์เนตและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.27)
  12. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ Module 3: ท่านสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.23)
  13. หลังการอบรมท่านมีความรู้ในเนื้อหาหรือหัวข้อมากน้อยเพียงใด -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดี (3.86)
  14. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.59)
  15. เจ้าหน้าที่ประสานงานและบริหารกิจกรรมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ  ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ -- ผู้เข้าอบรมแสดงความเห็นเกี่ยวกับประเด็นนี้ อยู่ในระดับดีมาก (4.59)

สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้ Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business)
LO2.3: ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ
          -- ผู้เรียนทุกคน มีผลงานสื่อดิจิทัล ที่พัฒนาขึ้นมาด้วยตนเองไม่ได้ลอกเลียนแบบงานมาจากผู้ใด
LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง
        -- ผู้เรียนทุกคน ผลิตสื่อดิจิทัลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ส่งเสริมธุรกิจของตนเองได้

 

50 0

25. DMA#01 Big Showcase Day

วันที่ 26 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

DMA#01 Big Showcase Day
วันที่ 26 มิถุนายน 2565 เวลา 10.00-17.00 น.
สถานที่: Maker Space มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
• ผู้เข้าร่วมงานลงทะเบียน ถ่ายภาพ และบันทึก clip แสดงความรู้สึกเกี่ยวกับการอบรม
• หัวหน้าโครงการกล่าวรายงานความเป็นมาของหลักสูตรบัณฑิตพันธุ์ใหม่ “การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป”
• ประธานกล่าวเปิดงาน DMA#01 Big Showcase Day
• แนะนำคณะกรรมการผู้ประเมินผลงานสื่อดิจิทัล
• ผู้ผ่านการอบรมถ่ายภาพร่วมกับประธานและคณะกรรมการ
• ตัวแทนผู้ผ่านการอบรม 2 ท่าน (Online และ Onsite) กล่าวถึงความรู้สึกที่ได้รับจากการเข้ารับการอบรม • ผู้ผ่านการอบรม นำเสนอผลงาน Project 1 ถึง Project 15 (นำเสนอ Project ละ ไม่เกิน 5 นาที)
• พักรับประทานอาหารกลางวัน
• ผู้ผ่านการอบรม นำเสนอผลงาน Project 16 ถึง Project 40  (นำเสนอ Project ละ ไม่เกิน 5 นาที)
• พักรับประทานของว่าง • คณะกรรมการให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานสื่อดิจิทัล
• ประกาศผล และมอบรางวัลให้กับผู้นำเสนอผลงาน
• มอบประกาศนียบัตรและของที่ระลึก สำหรับผู้ผ่านการอบรมและผู้เข้ารับการอบรม
      (สำหรับผู้ที่เข้ามาในงาน – มอบภายในงาน  และสำหรับผู้ที่ Online จะส่งให้หลังวันที่ 26 มิถุนายน  ภายใน 15 วันทำการ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผลการสำรวจค่าระดับความคิดเห็นของผู้ร่วมกิจกรรม DMA#01 Big Showcase Day ดังประเด็นต่างๆ ดังนี้
    -  ผู้ตอบแบบประเมินงาน DMA#01 Big showcase day จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 62 ของผู้เข้าอบรมทั้งหมด (50 คน)

- ผลการสำรวจค่าระดับความพึงพอใจ พบว่า 
ด้านเนื้อหาการอบรม
- มีความทันสมัยครอบคลุมตามเป้าหมายของหลักสูตร -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.7)
- มีสอดคล้องกับความต้องการ -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.68)
- ระยะเวลาการอบรมตลอดหลักสูตรมีความเหมาะสม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.32)

ด้านวิทยากรฝึกอบรมและที่ปรึกษา - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ/ประสบการณ์ตรงกับหัวข้อที่บรรยาย/ฝึกปฏิบัติการ/ให้คำปรึกษา/ศึกษาดูงาน -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.74)
- วิทยากรลำดับเนื้อหาการบรรยายหรือปฏิบัติการเข้าใจง่าย มีความต่อเนื่อง -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.74)
- วิทยากรมีเทคนิควิธีการฝึกอบรมที่ทำให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย ก่อให้เกิดการเรียนรู้   -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.70) - วิทยากรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมซักถาม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.74) - วิทยากรตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจง่าย -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.64)

ด้านสถานที่  
- สถานที่สะอาดและมีความเหมาะสม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.84) - ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์  -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.74)

ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานและบริหารกิจกรรม
- เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี  สุภาพ ให้ความเป็นกันเองแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ" -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.90) - เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานมีความพร้อมในการให้บริการ มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว  -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.80) - การให้คำแนะนำหรือตอบข้อซักถามของเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงาน -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.77)

ด้านโสตทัศนูปกรณ์หรือการสื่อสารออนไลน์
- โสตทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพ และใช้งานได้ดี -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.65) - สัญญาณและช่องทางการอบรมออนไลน์ที่ใช้ในการฝึกอบรมมีคุณภาพและใช้งานได้ดี  -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.45

ด้านความเข้าใจเนื้อหาของผู้อบรม
- ท่านมีความเข้าใจในเรื่องนี้ ก่อน การอบรม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง (2.77) - ความเข้าใจในเรื่องนี้ หลัง การอบรม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.35) - ท่านมีความเข้าใจและสามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์สร้างตัวตนเพื่อธุรกิจในสื่อดิจิทัล -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.26) - ท่านมีความเข้าใจและสามารถผลิตสื่อดิจิทัลได้ -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.13) - ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อสร้างคอนเทนต์/สร้างอาชีพด้วยสื่อดิจิทัลได้" -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.26) - ท่านเห็นทิศทาง/ แนวทางสู่การสร้างอาชีพหรือธุรกิจดิจิทัล -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.26) - ท่านบูรณาการทางความคิดสู่การทำงานเป็นทีม -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.26)

ด้านการนำความรู้ไปใช้
- ท่านมีความมั่นใจและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้ -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.35) - ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.39) - ท่านสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ /สร้างอาชีพได้ -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.26) ค่าเฉลี่ยในภาพรวม  -- ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับดีมาก (4.468)

  1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ ของ Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business)
    LO2.3: ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ

- ประเมินจาก ผลงานสื่อดิจิทัลของผู้เข้าอบรม ที่นำเสนอในงาน DMA#01 Big Showcase มีจำนวนทั้งสิ้น 43 คน 35 Project
- ทุก Project นำเสนอสื่อดิจิทัลที่ส่งเสริมธุรกิจของตนเอง ทำให้เห็นแนวทางการทำงานต่อยอด และบางผลงานสามารถนำไปเผยแพร่สร้างมูลค่าให้กับสินค้าได้
LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง - ผลงานของผู้เข้าอบรม เชื่อมโยงกับเครือข่ายทางธุรกิจของตนเอง และบางผลงานเกิดขึ้นจากความร่วมมือกันในระหว่างเพื่อนร่วมชั้นเรียน ทำให้เกิดการสร้างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

  1. เสนอแนะจากผู้เข้าอบรม

- เป็นหลักสูตรที่ดีมาก โดยเฉพาะผู้สูงวัยที่ต้องการเข้าถึงเทคโนโลยีทางการสื่อสาร, น่าจะเพิ่มการสอนการใช้แพลทฟอร์มต่างๆ ด้วย เพราะสูงวัยบางท่านห่างจากเทคโนโลยีสมัยนี้มาก - ควรจัดให้อบรมกลุ่มประชาชนต่อเนื่องทุกปี สกอว.ควรให้ทุนต่อเนื่องทุกเทอม ควรมี course ง่ายๆที่ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมต่อเนื่อง - ควรมี course รุ่นต่อเนื่องอีกสเต็ปหนึ่ง - เนื้อหาใน module 2-3 เป็นเนื้อหาที่ดีมากและเวลาค่อนข้างน้อยไป หลักสูตรนี้ onsite น่าจะเหมาะสมมากกว่าเพราะฝึกปฏิบัติ project และใกล้วิทยากร , ทุกอย่างโดยรวมดีมากๆครับ ขอบคุณที่ให้โอกาสเข้ามาเรียนในหลักสูตรนี้ครับ, ขอเป็นกำลังใจให้ทีมงานและวิทยากรทุกๆคนนะครับ, Happy graduation
- บางหัวข้อที่เป็นการฝึกปฏิบัติ ต้องเรียนรู้พร้อมการทำ ควรจัดonsite, การจัดการเรียนการสอนควรเว้นเวลาให้มีเวลาในการฝึกหัดทำ ยีดเวลาจาก 8 ครั้งเป็น 3 เดือนได้, ขอบคุณความตั้งใจในการถ่ายทอด การเลือกวิทยากรแต่ละท่านที่เก่งและเชี่ยวชาญมากในแต่ละหัวข้อ และอยากให้บางหัวข้อ ในส่วนการผลิตสื่อ แยกออกมาเป็น workshop ย่อยๆ - ต้องการอบรมเพิ่มเติมในส่วนของ application ที่ใช้งานในการสร้างสื่อ - อยากเรียน figma และ Davinci เพิ่มค่ะ, อยากให้คงคลิปการอบรม ให้ผู้เข้ารับการสามารถย้อนดูได้ตลอดไปครับ - หัวข้อเรื่องปฏิบัติ วิธีการสอนออนไลน์ไม่ตอบโจทย์ โมดูล3 บางหัวข้อเวลาน้อยไป - หากมีการแจ้งก่อนสมัครว่าอาจมีงาน workshop ในห้อง และมีการบ้านกลับบ้านน่าจะดีเพื่อการตัดสินใจหรือเตรียมตัวให้ดี
- อยากให้เพิ่มเวลาในการอบรมให้มากกว่านี้ ควรมีการ onsite ในบางเรื่องโดยเป็นการลงมือทำและทดลองใช้งานจริง - เน้นภาคปฏิบัติ, onsite จะดีกว่า online, ต้องปรับปรุงเทคนิคหากมีการผสม online and onsite, คอร์สนี้ดี

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปมีทักษะทางด้านการออกแบบและทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ เพื่อเป็นแนวทางการการประกอบอาชีพบนธุรกิจสื่อดิจิทัลในอนาคต 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไปมีทักษะทางด้านการออกแบบและทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเชิงสร้างสรรค์เพื่อเป็นแนวทางการการประกอบอาชีพบนธุรกิจสื่อดิจิทัลในอนาคต 3.เพื่อสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการสร้างสรรค์สินค้าหรือบริการกับสถานประกอบการธุรกิจสื่อดิจิทัลและมหาวิทยาลัย

ผลการเรียนรู้ของหลักสูตรผลลัพธ์การเรียนรู้ (LO) คือ ผู้สูงอายุและบุคคลทั่่วไปสามารถผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อใช้ในธุรกิจสร้างสรรค์เป็นของตนเอง กำหนด Learning Outcome ดังนี้
LO1: ผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไปผลิตสื่อดิจิทัลได้ด้วยตนเอง - LO1.1: เลือกวิธีการแก้ปัญหาจากโจทย์ที่กำหนดให้โดยใช้วิธีการเล่าเรื่อง/แนวความคิด(Concept)
- LO1.2: เข้าใจหลักการออกแบบและสามารถออกแบบสื่อดิจิทัลที่แสดงถึงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ - LO1.3: ผลิตสื่อดิจิทัลที่สื่อสารแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ให้สอดคล้องกับการใช้งานของธุรกิจของตนเอง
LO2: ผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไปนำสื่อดิจิทัลที่ผลิตไปใช้ในธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองได้จริง
- LO2.1: มีทัศนคติของการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล
- LO2.2: สามารถเลือกใช้สื่อดิจิทัลเพื่อเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจสร้างสรรค์ในโลกดิจิทัล - LO2.3: ประยุกต์ใช้สื่อดิจิทัลให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเองโดยพิจารณาประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมและจรรยาบรรณ - LO2.4 สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อส่งเสริมธุรกิจสร้างสรรค์ของตนเอง

ได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ (LO1 และ LO2) กำหนดวิธีการจัดการเรียนการสอนเป็นชุดความรู้ (Module) จำนวน 3 Module คือ Module 1 สร้างสรรค์ตัวตนในสื่อดิจิทัล (Identity Creation in Digital Media) -- วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ตัวตนในสื่อดิจิทัลได้ด้วยตนเอง
● ก้าวสู่โลกความคิดสร้างสรรค์ (Step into the World of Creativity) ● สัมผัสโลกแห่งการออกแบบและสุนทรียศาสตร์ (Sense of Design and Aesthetics)
● การรู้จักตัวตนและสร้างอัตลักษณ์ในสื่อดิจิทัล (Self-Awareness and Creating Character Identity in Digital Media) ● การออกแบบธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ในสื่อดิจิทัล (Creative Business Design in Digital Media) ● การริเริ่มสร้างธุรกิจในสื่อดิจิทัล (Creating Business in Digital Media)

Module 2 หลักการผลิตสื่อดิจิทัลเบื้องต้น (Principles of Digital Media Production) -- วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถผลิตสื่อดิจิทัลได้
● ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape)
● การวิเคราะห์ผู้บริโภคเชิงลึกสำหรับสื่อดิจิทัล (Consumer Insight Analytics for Digital Media) ● ทักษะการเล่าเรื่องและการเขียนบท (Storytelling Skills and Script Writing) ● หลักการถ่ายทำและตัดต่อลำดับภาพเพื่อสื่อดิจิทัล (Principles of Shooting and Editing for Digital Media) ● เทคนิคพิเศษและงานกราฟิกเพื่อสื่อดิจิทัล (Special Effects and Graphic for Digital Media)

Module 3 การประยุกต์และนำสื่อดิจิทัลมาสร้างอาชีพ (Digital Media Implementation for Business) -- วัคถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนประยุกต์ความรู้และทักษะการผลิตสื่อดิจิทัลไปใช้ในการสร้างอาชีพ
● การจัดการธุรกิจสื่อดิจิทัล (Management in Digital Media Business) ● การตลาดจากเนื้อหา (Content Marketing)
● การสร้างโอกาสใหม่ในโลกดิจิทัล (Creating New Opportunity in Digital World) ● การสร้างเครือข่ายในโลกดิจิทัล (Creating Network in Digital World)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

หลักสูตรการผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การผลิตสื่อดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไป จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0103

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด