directions_run

ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์


“ ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0100 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ     1. เพื่อสร้างบัณฑิตพันธ์ใหม่ และกำลังคนที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูงสำหรับการทำงานและเพิ่มขีดความสามารถกำลังคนในกลุ่มดูแลผู้สูงอายุ เป็นกลไกลที่สำคัญในการพัฒนางานด้านสุขภาพและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 2. เพื่อสร้างฐานการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งอนาคต โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิดบัณฑิตและสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง
3. พัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและศักยภาพสูง มีการร่วมมือกับสถานประกอบการในการผลิตบัณฑิตด้านกำลังคน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
  (1) การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในผู้สูงอายุ
  (2) ปฐมนิเทศ บรรยายพิเศษ หัวข้อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ
  (3) การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (4) การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในผู้สูงอายุ
  2. ปฐมนิเทศ บรรยายพิเศษ หัวข้อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย
  4. การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศ บรรยายพิเศษ หัวข้อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 26 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้จัดทำหลักสูตรประชุมหารือวางแผน
  2. ประสานงานกับวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หัวข้อ "การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ"

 

26 0

2. การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้ารับการอบรมเข้าเรียนภาคปฏิบัติที่สถานประกอบการนิมป์ แคร์ โฮม (ศูนย์การดูแลผู้สูงอายุหรือผู้มีภาวะพึ่งพิง) อำเภอบ้านใหม่ จังหวัดปทุมธานี โดยเข้าเรียนฝึกปฏิบัติในวันเสาร์ - วันอาทิตย์ โดยแบ่งหัวข้อการฝึกปฏิบัติตามคู่มือฝึกปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (output) PlO 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้ PlO 2. ผู้เรียนมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ PlO 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลลัพธ์ (Outcome) PlO 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้     SPLO1. อธิบายเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุได้     SPLO2. อธิบายหลักการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ     SPLO3. ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Barthel  Activities of Daily Living : ADL) ได้     SPLO4. คัดกรองอาการสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข     SPLO5. อธิบายการจัดรายการอาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุตามคำแนะของผู้จัดการดูแลสุขภาพ     SPLO6. ประเมินการเจ็บป่วยในภาวะฉุกเฉินของผู้สูงอายุโดยใช้หลัก FAST ได้     SPLO7. อธิบายแนวทางปฏิบัติในการใช้ยาในโรคที่ผู้สูงอายุเจ็บป่วยตามคำสั่งของแพทย์ได้     SPLO8. อธิบายเกี่ยวกับการจัดอารยสถาปัตย์สำหรับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ ประเมินผลลัพย์การเรียนรู้     1. ความรู้เกี่ยวกับการคัดกรอง ประเมิน และวิเคราะห์ภาวะสุขภาพผู้สูงอายุอย่างครอบคลุมและเป็นองค์รวม รวมถึงใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ การคัดกรอง ประเมินสุขภาพ  ผู้เรียนได้คะแนนสอบและทำแบบฝึกหัดท้ายบทมากกว่าร้อยละ 60     2. ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ ควบคุมโรคให้แก่ผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวม ผู้เรียนได้คะแนนการสอบและการทำแบบฝึกหัดท้ายบทไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
PlO 2. ผู้เรียนมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ     SPLO9. มีความรู้ความเข้าใจในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน     SPLO10. มีทักษะการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีผลลัพธ์ของการดำเนินงานสอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนการดูแลสุขภาพ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้     1. ความสามารถในการคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง โดยใช้แบบประเมินการฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนต้องมีชั่วโมงการฝึกปฏิบัติในสถานที่จริง ร้อยละ 80 และมีคะแนนการฝึกปฏิบัติไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80     2. ผู้เรียนต้องมีจำนวนครั้งของการฝึกทักษะครบตามที่หลักสูตรกำหนด  (ร้อยละ 80)     3. วัดความสามารถในการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน และ ควบคุมโรคให้แก่ผู้สูงอายุได้ โดยใช้แบบประเมินการฝึกปฏิบัติ ผู้เรียนฝึกปฏิบัติทั้งในห้องปฏิบัติการและการฝึกในสถานที่จริง ร้อยละ 80 และมีคะแนนการฝึกปฏิบัติไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80     4. วัดทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น คะแนนการฝึกทักษะไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
    5. ผู้เรียนต้องมีจำนวนครั้งของการฝึกทักษะครบตามที่หลักสูตรกำหนด  (ร้อยละ 80) 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
    SPLO11. มีเจตคติและจริยธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุและมีความตระหนัก มีทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีในการปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุ ประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้   1. การตรงต่อเวลาในการเข้าฝึกปฏิบัติและรับผิดชอบต่อหน้าที่ โดยการสังเกตพฤติกรรม   2. การดูแลผู้สูงอายุอย่างเอาใจใส่ มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่ต้องร้องขอ ด้วยความสุภาพอ่อนโยน โดยใช้แบบประเมินตนเอง แบบประเมินโดยผู้อื่น
  3. มีเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรม
  4. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรม

 

26 0

3. การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการเรียนการเรียนการสอนภาคทฤษฏีประกอบการฝึกปฏิบัติเสมือนจริงในวันจันทรํ - วันศุกร์ เวลา 17.00-20.00 ณ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ โดยในการกระบวนการจัดการเรียนการสอนผู้เข้ารับการอบรมต้องเข้ารับฟังการบรรยายประกอบการฝึกเสมือนจริงดังเนื้อเรื่องที่ต้องศึกษา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) 1. จัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ 2. จัดการเรียนการสอนผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลลัพย์ (Outcome) 1. ผู้เรียนสามารถจัดการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยในโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุได้ผู้สูงอายุได้     - ผู้เข้ารับการอบรมผู้เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อยในกลุ่มผู้สูงอายุได้     - ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการเจ็บป่วยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Barthel  Activities of Daily Living : ADL)
    - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถคัดกรองอาการสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดรายการอาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุตามคำแนะของผู้จัดการดูแลสุขภาพ     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถประเมินการเจ็บป่วยในภาวะฉุกเฉินของผู้สูงอายุโดยใช้หลัก FAST ได้     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติในการใช้ยาในโรคที่ผู้สูงอายุเจ็บป่วยตามคำสั่งของแพทย์ได้     - ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดอารยสถาปัตย์สำหรับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3. ผู้เรียนมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตอาสาในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและสามารถบริหารจัดการกระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล     - ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการใช้้อุปกรณ์ และเครื่องมือเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน   - ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยดำเนินงานสอดคล้องกับเป้าหมายแผนการดูแลสุขภาพ   - ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติและจริยธรรมของผู้ดูแลผู้สูงอายุและมีความตระหนัก มีทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมที่ดีในการปฏิบัติงานดูแลผู้สูงอายุ

 

26 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 26
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ     1. เพื่อสร้างบัณฑิตพันธ์ใหม่ และกำลังคนที่มีสมรรถนะและศักยภาพสูงสำหรับการทำงานและเพิ่มขีดความสามารถกำลังคนในกลุ่มดูแลผู้สูงอายุ เป็นกลไกลที่สำคัญในการพัฒนางานด้านสุขภาพและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 2. เพื่อสร้างฐานการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาแห่งอนาคต โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิดบัณฑิตและสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง
3. พัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและศักยภาพสูง มีการร่วมมือกับสถานประกอบการในการผลิตบัณฑิตด้านกำลังคน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
  (1) การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในผู้สูงอายุ
  (2) ปฐมนิเทศ บรรยายพิเศษ หัวข้อการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุและความต้องการด้านกำลังคนสุขภาพผู้สูงอายุ
  (3) การจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย (4) การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ประกาศนียบัตรการจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0100

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด