directions_run

หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


“ หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่อย่างครบวงจร เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐานและปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหารในการพัฒนาและแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการวางแผนประกอบธุรกิจ และสามารถแปรรูปอาหาร ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการเชิญผู้ที่ประสบความสำเร็จในการทำธุรกิจอาหาร มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (2) ควรมีหัวข้อการฝึกปฏิบัติการเพิ่มมากขึ้น
(3) พัฒนาเนื้อหาให้เข้ากับบริบทของชุมชนให้มากขึ้น
(4) พัฒนาเนื้อหาที่เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
  2. กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสัมมนาการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ ณ. สหกรณ์การเกษตรห้วยคต
  3. กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมสัมมนาการใช้เครื่องมือชั้นสูงในการแปรรูปอาหาร ณ. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
  4. กิจกรรมที่ 4 ฝึกอบรมสัมมนากระบวนการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
  5. กิจกรรมที่ 5 ฝึกอบรมสัมมนาการใช้เครื่องมือชั้นสูงในการแปรรูปอาหาร ณ. มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอภิปรายและฝึกปฏิบัติ
- หลักการและเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร
- การควบคุมคุณภาพและการประกันความปลอดภัยของอาหาร - การสร้างตลาดดิจิทัลและการสร้างตราสินค้าสำหรับอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหารในการพัฒนาและแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการวางแผนประกอบธุรกิจ โดยผู้เรียนได้ทำกิจกรรมฝึกปฏิบัติในการวางแผนประกอบธุรกิจในผลิตภัณฑ์ของตนเอง ซึ่งเป็นแนวทางในการนำไปใช้วางแผนประกอบธุรกิจได้จริง

 

23 0

2. กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสัมมนาการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ ณ. สหกรณ์การเกษตรห้วยคต

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการ ฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ จากวัตถุดิบที่มีอยู่ในสหกรณ์การเกษตรห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำทักษะที่ได้จากการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารของตนเองได้

 

23 0

3. กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมสัมมนาการใช้เครื่องมือชั้นสูงในการแปรรูปอาหาร ณ. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการ เดินทางไปฝึกปฏิบัติการแปรรูปอาหาร ณ. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก ฝึกปฏิบัติการด้วยเครื่องมือและเทคโนโลยีดังต่อไปนี้
- การแปรรูปอาหารด้วยเครื่อง Freeze dried - การแปรรูปอาหารด้วยเครื่อง Vacuum fried - การแปรรูปอาหารกระป๋อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถนำแนวทางในการใช้เทคโนโลยีการอาหารด้วยวิธีต่างๆ ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจของตนเองได้

 

23 0

4. กิจกรรมที่ 4 ฝึกอบรมสัมมนากระบวนการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เรียนฝึกทักษะพัฒนากระบวนการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร - วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า - วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียน วิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าได้ และส่งผลให้สามารถวิเคราะห์การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อให้ตรงความต้องการของลูกค้าได้

 

23 0

5. กิจกรรมที่ 5 ฝึกอบรมสัมมนาการใช้เครื่องมือชั้นสูงในการแปรรูปอาหาร ณ. มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือชั้นสูงในการแปรรูปอาหาร ณ. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก - การแปรรูปอาหารด้วยเครื่องเอ็กทรูชัน - การแปรรูปอาหารด้วยความดันสูง (High pressure processing)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียน ได้เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการแปรรูปอาหาร

 

23 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหารในการพัฒนาและแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการวางแผนประกอบธุรกิจ และสามารถแปรรูปอาหาร ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 18
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่อย่างครบวงจร เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐานและปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหารในการพัฒนาและแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการวางแผนประกอบธุรกิจ และสามารถแปรรูปอาหาร ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยเป็นไปตามมาตรฐาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการเชิญผู้ที่ประสบความสำเร็จในการทำธุรกิจอาหาร มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (2) ควรมีหัวข้อการฝึกปฏิบัติการเพิ่มมากขึ้น
(3) พัฒนาเนื้อหาให้เข้ากับบริบทของชุมชนให้มากขึ้น
(4) พัฒนาเนื้อหาที่เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรพัฒนาทักษะการแปรรูปอาหารโภชนาการเพื่อสุขภาพสำหรับการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด