แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
“ ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0098 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)
บทคัดย่อ
โครงการ " ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0098 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการรับสมัครผู้เข้าอบรม
- กิจกรรมการประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าอบรม
- การแนะนำการจัดหลักสูตร
- การจัดการเรียนวิชาพื้นฐานวิชาชีพผ่านระบบ online
- กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- การทดสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- การฝึกภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการ
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- ปัจฉิมนิเทศน์ผู้เรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ
- การรับสมัครผู้เข้าอบรม
- การประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อการสอบสัมภาษณ์
- การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
- การจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์
- กิจกรรมการแนะนำการจัดหลักสูตร
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 1: เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็น)ท์
- Module 2: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 4: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- Module 5: ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- Module 6: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 7: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
- Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
- Module 10: สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- Module 11: เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- เสวนา How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
- ปัจฉิมนิเทศและพิธีมอบใบประกาศนียบัตร
- กิจกรรมการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการปฐมนิเทศและการแนะนำระเบียบการเรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การรับสมัครผู้เข้าอบรม
วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประกาศรับสมัครผู้เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การได้รับจำนวนผู้เข้าอบรมและดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าอบรมที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร
ดังต่อไปนี้
1.นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส.
2.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ
3.ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม
4.ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม
0
0
2. การประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อการสอบสัมภาษณ์
วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการ
1. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์
2. ทีมผู้ดำเนินงานดำเนินการติดต่อทางโทรศัพย์หาผู้ที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์
3. ดำเนินการสอบสัมภาษณ์โดยทีมคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยคัดเลือกคุณสมบัติตามที่ระบบไว้ในแบบเสนอหลักสูตร
3.1 นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส.
3.2 ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ
3.3 ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม
3.4 ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม
และมีการกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมโดยผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์จะต้องนำส่งภาพพื้นที่ดินที่ต้องการจะพัฒนาและแผนการดำเนินการทำธุรกิจลานกางเต็นท์
3.5 ประกาศรายชื่อผู้มีผ่านการสอบสัมภาษณ์และประกาศยืนยันสิทธิ์ผ่านระบบ email ภายในวันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 9.00-17.00 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายชื่อผู้เข้าอบรมที่ยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้าอบรมหลักสูตร "ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)" จำนวน 44 คน
0
0
3. การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรม
44
0
4. การจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์
วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
Module 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 2: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 3: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 4: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 5: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 6: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Module 7: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 8: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
การจัดการเรียนการสอนระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 – วันที่ 31 มีนาคม 256ุ6
ผ่านระบบ Online: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 3 ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวตามมาตรฐานของกรมการท่องเที่ยวและสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย (สทอ) หรือ TEATA
44
0
5. กิจกรรมการแนะนำการจัดหลักสูตร
วันที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ผ่านระบบ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
1. ผู้เข้าอบรมต้องเข้าเรียนออนไลน์และการทบทวนการเรียนผ่านช่องทาง onlinecourse.dusit.ac.th เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง มิฉะนั้นระบบอาจจะไม่บันทึกเวลารับชม
2. ผู้เข้าอบรมต้องมีผลการ Log in เข้าอบรมทุกหัวข้อการอบรมไม่น้อยกว่า 80% และต้องอบรมภาคปฎิบัติทั้งรูปแบบ online หรือ รูปแบบ onsite จึงจะผ่านการอบรม และได้รับวุฒิบัตรการอบรม (e-certificate)
3. เอกสารประกอบการอบรม สื่อประกอบการอบรม ตลอดจนเอกสาร และสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการอบรม เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตเท่านั้น ห้ามนำไปเผยแพร่ทุกกรณี
4. ผู้เข้าอบรมสามารถเริ่มอบรมได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – วันที่ 31 มีนาคม 2566
5. หลักสูตรการอบรมสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2566
44
0
6. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 3 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
Module 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
รูปแบบการเรียนการสอน: การเรียนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์ช่องทาง Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: การสร้างสื่อ 2D Animation จาก Templates สำเร็จรูป เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.2: การสร้างกราฟิก ภาพประกอบ และโปสเตอร์ ด้วยสมาร์ทโฟนเพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.3: การสร้างโลกเสมือนจริง (Metaverse) เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep 4: การสร้าง 3D Animation เพื่อประชาสัมพันธ์ ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep 5: กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดออนไลน์ สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep 6: กฎหมายเพื่อการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล PDPA
44
0
7. Module 1: เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็น)ท์
วันที่ 3 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
44
0
8. Module 2: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 4 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- การจดทะเบียนผู้ประกอบการ การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO1.1: อธิบายความรู้และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับธุรกิจลานกางเต็นท์ ได้แก่ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์ การเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี กลยุทธ์การตลาดออนไลน์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ และความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์
การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์เพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
44
0
9. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: Vocabularies คำศัพท์เกี่ยวกับลานกางเต็นท์
Ep 2: Reservations Conversation of campground business บทสนทนาเกี่ยวกับการจองลานกางเต็นท์
Ep.3: Welcoming Guests การต้อนรับลูกค้า
Ep 4: Characters and Personalities in Service Industry บุคลิกภาพและคุณลักษณะของผู้ให้บริการ
Ep 5: Handling Situations การจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ
Ep 6: Frequently Asked Questions คำถามที่พบบ่อย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการและผู้ปฏิบัติงานธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 2 สามารถใช้ภาษาอังกฤษระดับต้นในการสื่อสารในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
CLO 2 เข้าใจความหมายของประโยคสนทนาที่ใช้ในการสื่อสารเพื่อการให้บริการในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
CLO 2 ใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
44
0
10. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
วันที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
6) การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากกาแฟเพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
15
0
11. การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
วันที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการทดสอบทักษะภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy): การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
ทีมผู้ทดสอบภาคปฎิบัติ:
- อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ
- อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์
และทีมวิทยากรจากสถานประกอบการร้าน Le Paris
-นายคมกฤษ จันวิมล
-นายสุพจน์ สุขเลิศ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถ:
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากกาแฟเพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
0
0
12. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
วันที่ 11 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากกาแฟเพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
15
0
13. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากกาแฟเพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
15
0
14. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.2: แนวคิดและหลักการการดำเนินงานธุรกิจเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 3: เทคนิคการเข้าถึงใจลูกค้าของผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 4: กฎหมายและระเบียบสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 5: บัญชีและภาษีสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep 6: การบริหารจัดการบุคลากรสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากร:
ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ
อาจารย์สุชาดา อภิรัตน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์เพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
44
0
15. Module 4: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
ณ ห้องกุมาริกา โรงแรมสวนดุสิตเพลส มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
SPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ
CLO 1 นำความรู้ด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ใช้ในการจัดการงานในธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
CLO 3 ทำงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพและมีคุณธรรม จริยธรรม
44
0
16. Module 5: ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว
วันที่ 18 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว
- การดูสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง/ การหลงป่า/ น้ำป่า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 2 ออกแบบผลผลิตการออกแบบการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 3 สื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
44
0
17. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Ep.1: กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฎิบัติสำหรับธุรกิจที่พักประเภทลานกางเต็นท์
Ep.2: คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.3: การเลือกพื้นที่และการปรับพื้นที่สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.4: การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว
Ep.5: การบริหารจัดพล้งงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Ep.6: การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์สำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
44
0
18. Module 6: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
44
0
19. Module 7: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม)
วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะด้านการจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
44
0
20. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Ep.1: ความหมายและหลักการการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep.2: การสื่อความหมายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep 3: หลักการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep 4: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep 6: ตัวอย่างการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในประเทศและต่างประเทศ
อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ
CLO 1 นำความรู้ด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ใช้ในการจัดการงานในธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
CLO 3 ทำงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพและมีคุณธรรม จริยธรรม
44
0
21. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep.1: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep.2: การวิเคราะห์กลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม
Ep 3: การวิเคราะห์บริบทพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม
Ep 4: กฎหมายและข้อปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับการจัดนำเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Ep 6: ตัวอย่างเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ CLO 2 ออกแบบผลผลิตการออกแบบการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ CLO 3 สื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
44
0
22. Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
วันที่ 7 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
22
0
23. Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
วันที่ 8 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
22
0
24. การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนต้องผ่านการทดสอบทักษะและความรู้ด้านการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
1. อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
2. สามารถออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
0
0
25. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม
Ep.2: การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 3: อาหารเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์กับวัตถุท้องถิ่น
Ep 4: หลักการคัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อชูความเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 5: การเพิ่มมูลค่าธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของประเทศไทยที่เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารที่ยั่งยืน
Ep 6: ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นที่นำมาแปรรูปจนเป็นอัตลักษณ์ของอาหารของธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
44
0
26. Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
วันที่ 14 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์: การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากรภายในและทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ
- อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์
- คุณณัจยา เมฆราวี
- คุณจารุณี วิเทศ
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์โดยใช้การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) จากวัตถุดิบที่มีในชุมชน
22
0
27. Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ม้าฮ่อ (อาหารว่าง) ไชโป้วหวานราชบุรี, ข้าวคลุกกะปิมากิห่อสาหร่าย (อาหารจานเดียว) กะปิคลองโคน สมุทรสงคราม น้ำกระเจี๊ยบมะนาว แยมกระเจี๊ยบ / Roselle Soda (กระเจี๊ยบแดงกำแพงแสน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
22
0
28. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep.1: ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep.2: เกณฑการรับรองคุณภาพเพื่อความปลอดภัยสำหรับธุรกิจที่พักประเภทลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep 3: มาตรฐาน SHA สำหรับธุรกิจที่พักประเภทลานกางเต็นท์
Ep 4: หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (การปั๊มหัวใจ/การผายปอด/อุบัติเหตุจากการเดินป่า/งูกัด สัตว์มีพิษ)
Ep 5: การจัดการความปลอดภัยกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน (การดูสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง/ การหลงป่า/ น้ำป่า)
Ep 6: การจัดการความปลอดภัยกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน (ภัยธรรมชาติ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
SPLO 3: สามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวตามตามมาตรฐานของกรมการท่องเที่ยวและสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย (สทอ) หรือ TEATA
ความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการปฏิบัติงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
44
0
29. Module 10: สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 21 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากรภายใน
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ
- ดร.สรร รัตนสัญญา
- คุณเอกชัย ม่วงรอดภัย (ST Microelectronic Thailand)
- คุณพชรภรรษ โรจน์ศิริกุลกิตติ
- คุณธนัญญา ว่องเกียรติกุล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (ระบบการจองที่พักและ Chat Bot)
การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
44
0
30. การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ประชุมและสำรวจพื้นที่กับสถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน
20
0
31. Module 11: เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Digital Marketing Activities
- Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense)
- Search Engine Optimization (SEO)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ผู้เรียนมีทักษะด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพได้
เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Digital Marketing Activities
- Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense)
- Search Engine Optimization (SEO)
ทีมวิทยากร:
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ:
- ดร.สรร รัตนสัญญา
- คุณเอกชัย ม่วงรอดภัย
- นายวรัศฐ์ เย็นใจประเสริฐ
- นายธนธรณ์ อยู่เย็น
44
0
32. การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์โดยฝึกปฎิบัติและดูพื้นที่จริงของผู้ประกอบการลานกางเต็นท์
กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี
องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์
แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนได้ศึกษาจากพื้นที่จริงสำหรับการจัดทำลานกางเต็นท์ในองค์ความรู้และทักษะดังนี้
กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี
องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์
แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
50
0
33. การลงพื้นที่ติดตามและประเมินผู้เรียน
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
7.2 การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน
- การสัมภาษณ์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลผ่านระบบออนไลน์ในประเด็นของการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
0
0
34. การติดตามและประเมินผู้เรียน
วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน
- การสัมภาษณ์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลผ่านระบบออนไลน์ในประเด็นของการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- การลงพื้นที่ประเมินการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
4
0
35. การติดตามและประเมินผู้เรียน
วันที่ 11 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน
- การสัมภาษณ์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลผ่านระบบออนไลน์ในประเด็นของการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- การลงพื้นที่ประเมินการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
4
0
36. การติดตามและประเมินผู้เรียน
วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว พื้นที่จังหวัดสระบุรี
1.นายสิทธิชัย สำเภาพล
2. นายเกรียงศักดิ์ โรจน์ศรีเสถียร
3. นางสาวรัชนีวรรณ คนหมั่น
4. นายสุนทร บัวเทศ
5. นางสาวนภสร สุขจิตกลม
6. นายพุฒิพงศ์ สุบิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนมาปรับพื้นที่ดิน การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในพื้นที่จังหวัดสระบุรี
1.นายสิทธิชัย สำเภาพล
2. นายเกรียงศักดิ์ โรจน์ศรีเสถียร
3. นางสาวรัชนีวรรณ คนหมั่น
4. นายสุนทร บัวเทศ
5. นางสาวนภสร สุขจิตกลม
6. นายพุฒิพงศ์ สุบิน
6
0
37. การติดตามและประเมินผู้เรียน
วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล
ผู้เรียนกำลังดำเนินการปรับพื้นที่เพื่อการทำลานกางเต็นท์โดยการปรับที่ดิน ก่อสร้างสถานที่และปูหญ้า
2
0
38. How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
วันที่ 8 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การเสวนา “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตของผู้เรียนภายหลังจากการเรียนหลักสูตร โดยจะนำเสนอลานกางเต็นท์ที่ได้นำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนไปดำเนินการสร้างแค้มป์ “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์”
45
0
39. ปัจฉิมนิเทศและพิธีมอบใบประกาศนียบัตร
วันที่ 8 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การสรุปการจัดการเรียนการสอนและการมอบใบประกาศนียบัตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สำเร็จการศึกษา
0
0
40. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การรับสมัครผู้เรียนผ่านระบบ Online
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การคัดเลือกผู้เรียนเพื่อให้มีคุณสมบัติดังนี้
1.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ
2. ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม
3. ผู้ที่เป็นเจ้าขอหรือถือกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ต้องการพัฒนาให้เป็นลานกางเต็นท์
0
0
41. กิจกรรมการปฐมนิเทศและการแนะนำระเบียบการเรียน
วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การแนะนำหลักสูตร ทีมผู้จัดหลักสูตร กฎระเบียบการเข้าเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การเข้าใจและปฏิบัติตามกฎระเบียนของการเป็นผู้เรียน
0
0
42. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- การจดทะเบียนผู้ประกอบการ
- การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- การจดทะเบียนผู้ประกอบการ
- การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
เพื่อการออกแบบและส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
43. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 6 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอน
หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบ visual tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการจัดการระบบ Visual tour สำหรับการนำภาพถ่ายไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์และการตลาดของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
44. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 12 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับที่พักประเภทลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทักษะและความรู้ด้านการเลือกสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสมตามงบประมาณ และลักษณะของลานกางเต็นท์ของตนเองได้โดยอยู่บนพื้นฐานของการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
0
0
45. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 13 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลสมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการรับจองของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
46. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นวัตกรรมสมาร์ทโฟนกับการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลด้านสมาร์ทโฟนเพื่อการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
47. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การจัดการภูมิสถาปัตยกรรม การวางผังบริเวณที่พักประเภทลานกางเต็นท์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการจัดการภูมิสถาปัตยกรรม การวางผังบริเวณที่พักประเภทลานกางเต็นท์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการออกแบบลานกางเต็นท์และการจัดวางพื้นที่ลานกางเต็นท์ของตนเองได้
0
0
48. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟน กับกิจกรรม Digital Marketing)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
LO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลของระบบสมาร์ทโฟน เพื่อการทำกิจกรรม Digital Marketing สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
49. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
วันที่ 26 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (Espresso Machine and Mocca Pot)
วิทยากรจากสถานประกอบการ
- นายคมกฤษ จันวิมล
- นายสุพจน์ สุขเลิศ
วิทยากรภายใน
- อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ
- อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ด้วยธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (Espresso Machine and Mocca Pot)สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
50. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
วันที่ 27 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (เครื่องดื่ม Cocktail and Mocktail)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ด้วยธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (เครื่องดื่ม Cocktail and Mocktail)สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
0
0
51. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
-ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
0
0
52. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
-ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
0
0
53. กิจกรรมภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ
วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ณ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันต์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ
CLO 1 นำความรู้ด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ใช้ในการจัดการงานในธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
CLO 3 ทำงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพและมีคุณธรรม จริยธรรม
มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 2 ออกแบบผลผลิตการออกแบบการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
CLO 3 สื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
0
0
54. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การคำนวณคาร์บอนเคดิต)
- การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- กิจกรรมการออกแบบลานกางเต็นท์จำลองบนพื้นที่จริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
PLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
CLO 1 อธิบายแนวคิดด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ
CLO 1 นำความรู้ด้านการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ใช้ในการจัดการงานในธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
CLO 3 ทำงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพและมีคุณธรรม จริยธรรม
0
0
55. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม:
How to be Safe & Survive in A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การเป็นผู้ประกอบการ A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
0
0
56. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การรายงานผลการจัดหลักสูตรและการแจ้งการประเมินผู้เรียนรายบุคคล และการมอบใบประกาศนียบัตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนทราบขั้นตอนการประเมินรายบุคคลและการแจ้งกระบวนการติดตามการทำลานกางเต็นท์รายบุคคล
0
0
57. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ติดตามและให้คำแนะนำในการออกแบบพื้นที่ลานกางเต็นท์ของผู้เรียนตามพื้นที่ตั้งของที่ดิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นางอุบลวรรณ สุขปลั่ง ชื่อลานกางเต็นท์ Love Tree Camp
2. นางลักขณา แสงทอง ชื่อลานกางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์
3. นางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์ ชื่อลานกางเต็นท์ PP Garden Home
0
0
58. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่ที่ตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน ณ จังหวัดเพชรบุรี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นางลักขณา แสงทอง พื้นที่กางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์ จังหวัดเพชรบุรี
0
0
59. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การลงพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อการติดตามการดำเนินงานการออกแบบพื้นที่เพื่อให้เป็นลานกางเต็นท์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลานกางเต็นท์ของนางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์
0
0
60. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การให้คำแนะนำในกางวางแผนภูมิทัศน์การตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลานกางเต็นท์ของคุณจิตติมา นิลสมัย ณ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0098
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
“ ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0098 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)
บทคัดย่อ
โครงการ " ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0098 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการรับสมัครผู้เข้าอบรม
- กิจกรรมการประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าอบรม
- การแนะนำการจัดหลักสูตร
- การจัดการเรียนวิชาพื้นฐานวิชาชีพผ่านระบบ online
- กิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- การทดสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- การฝึกภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการ
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- ปัจฉิมนิเทศน์ผู้เรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ
- การรับสมัครผู้เข้าอบรม
- การประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อการสอบสัมภาษณ์
- การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
- การจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์
- กิจกรรมการแนะนำการจัดหลักสูตร
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 1: เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็น)ท์
- Module 2: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 4: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- Module 5: ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- Module 6: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 7: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
- Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์)
- กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
- Module 10: สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- Module 11: เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์
- การลงพื้นที่ติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผู้เรียน
- เสวนา How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
- ปัจฉิมนิเทศและพิธีมอบใบประกาศนียบัตร
- กิจกรรมการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการปฐมนิเทศและการแนะนำระเบียบการเรียน
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
- กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
- การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การรับสมัครผู้เข้าอบรม |
||
วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประกาศรับสมัครผู้เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการได้รับจำนวนผู้เข้าอบรมและดำเนินการคัดเลือกผู้เข้าอบรมที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร ดังต่อไปนี้ 1.นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. 2.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 3.ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 4.ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม
|
0 | 0 |
2. การประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อการสอบสัมภาษณ์ |
||
วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขั้นตอนและกระบวนการดำเนินการ 1. ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ผ่านระบบออนไลน์ 2. ทีมผู้ดำเนินงานดำเนินการติดต่อทางโทรศัพย์หาผู้ที่มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ 3. ดำเนินการสอบสัมภาษณ์โดยทีมคณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยคัดเลือกคุณสมบัติตามที่ระบบไว้ในแบบเสนอหลักสูตร 3.1 นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. 3.2 ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 3.3 ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 3.4 ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม และมีการกำหนดคุณสมบัติเพิ่มเติมโดยผู้มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์จะต้องนำส่งภาพพื้นที่ดินที่ต้องการจะพัฒนาและแผนการดำเนินการทำธุรกิจลานกางเต็นท์ 3.5 ประกาศรายชื่อผู้มีผ่านการสอบสัมภาษณ์และประกาศยืนยันสิทธิ์ผ่านระบบ email ภายในวันที่ 25 กันยายน 2565 เวลา 9.00-17.00 น. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายชื่อผู้เข้าอบรมที่ยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้าอบรมหลักสูตร "ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business)" จำนวน 44 คน
|
0 | 0 |
3. การแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน |
||
วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำการแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรม
|
44 | 0 |
4. การจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์ |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำModule 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 2: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 3: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
Module 4: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 5: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 6: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ
Module 7: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Module 8: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
44 | 0 |
5. กิจกรรมการแนะนำการจัดหลักสูตร |
||
วันที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำการแนะนำการจัดหลักสูตร ระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการอบรมและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ผ่านระบบ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นระเบียบและข้อปฎิบัติเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
1. ผู้เข้าอบรมต้องเข้าเรียนออนไลน์และการทบทวนการเรียนผ่านช่องทาง onlinecourse.dusit.ac.th เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง มิฉะนั้นระบบอาจจะไม่บันทึกเวลารับชม
2. ผู้เข้าอบรมต้องมีผลการ Log in เข้าอบรมทุกหัวข้อการอบรมไม่น้อยกว่า 80% และต้องอบรมภาคปฎิบัติทั้งรูปแบบ online หรือ รูปแบบ onsite จึงจะผ่านการอบรม และได้รับวุฒิบัตรการอบรม (e-certificate)
|
44 | 0 |
6. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 3 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำModule 1: กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ รูปแบบการเรียนการสอน: การเรียนภาคทฤษฎีผ่านระบบออนไลน์ช่องทาง Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/เท่านั้น และต้อง Log Out ออกจากระบบทุกครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
กลยุทธ์เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: การสร้างสื่อ 2D Animation จาก Templates สำเร็จรูป เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.2: การสร้างกราฟิก ภาพประกอบ และโปสเตอร์ ด้วยสมาร์ทโฟนเพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep.3: การสร้างโลกเสมือนจริง (Metaverse) เพื่อประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
Ep 4: การสร้าง 3D Animation เพื่อประชาสัมพันธ์ ธุรกิจลานกางเต็นท์เอกชน
|
44 | 0 |
7. Module 1: เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็น)ท์ |
||
วันที่ 3 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับการจัดการระบบ Visual Tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
44 | 0 |
8. Module 2: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 4 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ - หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ - การจดทะเบียนผู้ประกอบการ การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO1.1: อธิบายความรู้และประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับธุรกิจลานกางเต็นท์ ได้แก่ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์ การเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี กลยุทธ์การตลาดออนไลน์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ และความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์
|
44 | 0 |
9. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.1: Vocabularies คำศัพท์เกี่ยวกับลานกางเต็นท์ Ep 2: Reservations Conversation of campground business บทสนทนาเกี่ยวกับการจองลานกางเต็นท์ Ep.3: Welcoming Guests การต้อนรับลูกค้า Ep 4: Characters and Personalities in Service Industry บุคลิกภาพและคุณลักษณะของผู้ให้บริการ Ep 5: Handling Situations การจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ Ep 6: Frequently Asked Questions คำถามที่พบบ่อย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
ภาษาอังกฤษสำหรับผู้ประกอบการและผู้ปฏิบัติงานธุรกิจลานกางเต็นท์
|
44 | 0 |
10. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
||
วันที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นSPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
15 | 0 |
11. การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine |
||
วันที่ 10 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการทดสอบทักษะภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy): การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine ทีมผู้ทดสอบภาคปฎิบัติ: - อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ - อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์ และทีมวิทยากรจากสถานประกอบการร้าน Le Paris -นายคมกฤษ จันวิมล -นายสุพจน์ สุขเลิศ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถ:
|
0 | 0 |
12. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
||
วันที่ 11 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นSPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
15 | 0 |
13. Module 3: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) - การสร้างรายได้จากกาแฟ Espresso Machine ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นSPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
15 | 0 |
14. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.1: หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep.2: แนวคิดและหลักการการดำเนินงานธุรกิจเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 3: เทคนิคการเข้าถึงใจลูกค้าของผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 4: กฎหมายและระเบียบสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
Ep 5: บัญชีและภาษีสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
Ep 6: การบริหารจัดการบุคลากรสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากร: ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นCLO 1 อธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้นวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์เพื่อการดำเนินการธุรกิจลานกางเต็นท์ได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม
|
44 | 0 |
15. Module 4: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
||
วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ณ ห้องกุมาริกา โรงแรมสวนดุสิตเพลส มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นSPLO1: การประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
44 | 0 |
16. Module 5: ความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว - การดูสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง/ การหลงป่า/ น้ำป่า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 2 ออกแบบผลผลิตการออกแบบการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO 3 สื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์
|
44 | 0 |
17. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
||
วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.1: กฎหมาย ระเบียบ แนวทางปฎิบัติสำหรับธุรกิจที่พักประเภทลานกางเต็นท์ Ep.2: คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.3: การเลือกพื้นที่และการปรับพื้นที่สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.4: การออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับนักท่องเที่ยว Ep.5: การบริหารจัดพล้งงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.6: การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
44 | 0 |
18. Module 6: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
|
44 | 0 |
19. Module 7: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) |
||
วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - การจัดการภูมิทัศน์ การวางผังบริเวณและสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
|
44 | 0 |
20. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ Ep.1: ความหมายและหลักการการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.2: การสื่อความหมายการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 3: หลักการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์กับการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 4: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับนักท่องเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 6: ตัวอย่างการจัดการนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในประเทศและต่างประเทศ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
44 | 0 |
21. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ |
||
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำมาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.1: มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep.2: การวิเคราะห์กลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม Ep 3: การวิเคราะห์บริบทพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม Ep 4: กฎหมายและข้อปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 5: กฎหมายและข้อปฎิบัติสำหรับการจัดนำเที่ยวในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ Ep 6: ตัวอย่างเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพ อบรมผ่านระบบ: Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
44 | 0 |
22. Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) |
||
วันที่ 7 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
|
22 | 0 |
23. Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) |
||
วันที่ 8 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
|
22 | 0 |
24. การสอบภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ |
||
วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนต้องผ่านการทดสอบทักษะและความรู้ด้านการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
|
0 | 0 |
25. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep.1: ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม Ep.2: การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep 3: อาหารเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์กับวัตถุท้องถิ่น Ep 4: หลักการคัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อชูความเป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของธุรกิจลานกางเต็นท์ Ep 5: การเพิ่มมูลค่าธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของประเทศไทยที่เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหารที่ยั่งยืน Ep 6: ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นที่นำมาแปรรูปจนเป็นอัตลักษณ์ของอาหารของธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy)
|
44 | 0 |
26. Module 8: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) |
||
วันที่ 14 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์: การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ทีมวิทยากรภายในและทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ - อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ - คุณณัจยา เมฆราวี - คุณจารุณี วิเทศ - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์โดยใช้การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) จากวัตถุดิบที่มีในชุมชน
|
22 | 0 |
27. Module 9: การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์) |
||
วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นCLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
22 | 0 |
28. กิจกรรมการเรียนภาคทฤษฎี: ความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว |
||
วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 17:00 น.กิจกรรมที่ทำความปลอดภัยสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นSPLO 3: สามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวตามตามมาตรฐานของกรมการท่องเที่ยวและสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย (สทอ) หรือ TEATA ความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้ CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการปฏิบัติงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ได้
|
44 | 0 |
29. Module 10: สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 21 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำสมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์
ทีมวิทยากรภายใน
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล
- อาจารย์ศิริศักดิ์ ศรีวิสรณ์
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ
- ดร.สรร รัตนสัญญา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (ระบบการจองที่พักและ Chat Bot) การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO1 อธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO3 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการขายและการประชาสัมพันธ์ธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ด้วยการคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
|
44 | 0 |
30. การลงพื้นที่ประชุมกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ประชุมและสำรวจพื้นที่กับสถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสถานประกอบการลานกางเต็นท์เพื่อการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติของผู้เรียน
|
20 | 0 |
31. Module 11: เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำเครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - Digital Marketing Activities - Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense) - Search Engine Optimization (SEO) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
PLO 2.1: ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ผู้เรียนมีทักษะด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการประกอบอาชีพได้ตามข้อกำหนดและจรรยาบรรณของวิชาชีพได้
เครื่องมือการตลาดดิจิทัลสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
- Digital Marketing Activities
- Google (My Business, Analytics, Alerts, Ads / AdSense)
- Search Engine Optimization (SEO)
ทีมวิทยากร:
- อาจารย์พิมพ์เนตร มากทรัพย์
- อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม
ทีมวิทยากรจากสถานประกอบการ:
- ดร.สรร รัตนสัญญา
|
44 | 0 |
32. การลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์ |
||
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ฝึกปฎิบัติกับสถานประกอบการลานกางเต็นท์โดยฝึกปฎิบัติและดูพื้นที่จริงของผู้ประกอบการลานกางเต็นท์ กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์ แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนได้ศึกษาจากพื้นที่จริงสำหรับการจัดทำลานกางเต็นท์ในองค์ความรู้และทักษะดังนี้ กิจกรรมและเส้นทางท่องเที่ยวสีเขียวเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ ภูมิสถาปัตย์เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี องค์ความรู้สู่การเป็นลานกางเต็นท์ แผนธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
50 | 0 |
33. การลงพื้นที่ติดตามและประเมินผู้เรียน |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ7.2 การติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
|
0 | 0 |
34. การติดตามและประเมินผู้เรียน |
||
วันที่ 4 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
|
4 | 0 |
35. การติดตามและประเมินผู้เรียน |
||
วันที่ 11 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการติดตามและประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลหลังเสร็จสิ้นการจัดการเรียนการสอน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติของแต่ละหน่วยการเรียนไปประยุกต์ใช้กับการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในรูปแบบของธุรกิจลานกางเต็นท์ที่ส่งเสริมการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลในพื้นที่จริง ซึ่งผู้เรียนหลักสูตรนี้มีพื้นที่ที่วางแผนและเริ่มลงมือเปิดกิจการลานกางเต็นท์สีเขียวในหลายจังหวัดเนื่องจากเป็นการนำที่ดินที่ว่างเปล่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่จังหวัดราชบุรี พื้นที่จังหวัดนครปฐม พื้นที่จังหวัดนครนายก พื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่จังหวัดสระบุรี พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่จังหวัดนนทบุรี พื้นที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร
|
4 | 0 |
36. การติดตามและประเมินผู้เรียน |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว พื้นที่จังหวัดสระบุรี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนมาปรับพื้นที่ดิน การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวในพื้นที่จังหวัดสระบุรี
|
6 | 0 |
37. การติดตามและประเมินผู้เรียน |
||
วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ประเมินผู้เรียนและให้คำแนะนำในการจัดทำธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นณ พื้นที่จังหวัดนครนายก นายถกลศักดิ์ สุขปลั่ง นายบุญเกียรติ วิศาลโกศล
|
2 | 0 |
38. How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์ |
||
วันที่ 8 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการเสวนา “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตของผู้เรียนภายหลังจากการเรียนหลักสูตร โดยจะนำเสนอลานกางเต็นท์ที่ได้นำองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนไปดำเนินการสร้างแค้มป์ “How to be A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์”
|
45 | 0 |
39. ปัจฉิมนิเทศและพิธีมอบใบประกาศนียบัตร |
||
วันที่ 8 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการสรุปการจัดการเรียนการสอนและการมอบใบประกาศนียบัตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สำเร็จการศึกษา
|
0 | 0 |
40. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการรับสมัครผู้เรียนผ่านระบบ Online ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการคัดเลือกผู้เรียนเพื่อให้มีคุณสมบัติดังนี้ 1.ผู้ที่ทำงานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 2. ผู้ที่ทำงานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 3. ผู้ที่เป็นเจ้าขอหรือถือกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ต้องการพัฒนาให้เป็นลานกางเต็นท์
|
0 | 0 |
41. กิจกรรมการปฐมนิเทศและการแนะนำระเบียบการเรียน |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการแนะนำหลักสูตร ทีมผู้จัดหลักสูตร กฎระเบียบการเข้าเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการเข้าใจและปฏิบัติตามกฎระเบียนของการเป็นผู้เรียน
|
0 | 0 |
42. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- หลักการและกฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจลานกางเต็นท์
- การจดทะเบียนผู้ประกอบการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
43. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอน หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบ visual tour เพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการจัดการระบบ Visual tour สำหรับการนำภาพถ่ายไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์และการตลาดของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
|
0 | 0 |
44. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 12 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ: การจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับที่พักประเภทลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
45. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 13 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลสมาร์ทโฟนสำหรับการจัดการระบบการรับจองเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการรับจองของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
|
0 | 0 |
46. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำนวัตกรรมสมาร์ทโฟนกับการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลด้านสมาร์ทโฟนเพื่อการควบคุมระบบการใช้พลังงานในธุรกิจลานกางเต็นท์ของธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
|
0 | 0 |
47. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การจัดการภูมิสถาปัตยกรรม การวางผังบริเวณที่พักประเภทลานกางเต็นท์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
48. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อธุรกิจลานกางเต็นท์ (สมาร์ทโฟน กับกิจกรรม Digital Marketing) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลของระบบสมาร์ทโฟน เพื่อการทำกิจกรรม Digital Marketing สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียวได้
|
0 | 0 |
49. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (Espresso Machine and Mocca Pot) วิทยากรจากสถานประกอบการ - นายคมกฤษ จันวิมล - นายสุพจน์ สุขเลิศ วิทยากรภายใน - อาจารย์เธียรรัตน์ ฉัตรภัทรพล - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์วสันต์ มหากาญจนะ - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
50. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ หัวข้อ: การสร้างรายได้จากธุรกิจลานกางเต็นท์ด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) ธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อลานกางเต็นท์ (เครื่องดื่ม Cocktail and Mocktail) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
51. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว -ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
|
0 | 0 |
52. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ - การออกแบบอาหารว่างและเครื่องดื่มจากวัตถุดิบพื้นถิ่นสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 1 อธิบายแนวคิดและขั้นตอนการนำเศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) มาประยุกต์ใช้สำหรับการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว CLO 2 ออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว -ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้วยการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์
|
0 | 0 |
53. กิจกรรมภาคปฏิบัติ ณ สถานประกอบการ |
||
วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ณ จังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันต์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
54. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำการจัดการที่พักประเภทธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - คาร์บอนบาลานซ์สำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์ (การคำนวณคาร์บอนเคดิต) - การจัดการสิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การบริหารจัดการขยะสำหรับธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ - กิจกรรมการออกแบบลานกางเต็นท์จำลองบนพื้นที่จริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นPLO 1 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านนวัตกรรมการท่องเที่ยวหลากชีวภาพเพื่อการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ในธุรกิจลานกางเต็นท์เพื่อส่งเสริมการประกอบธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว
|
0 | 0 |
55. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรม: ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการเป็นผู้ประกอบการ A Green Campground กับคนสร้างแค้มป์
|
0 | 0 |
56. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการรายงานผลการจัดหลักสูตรและการแจ้งการประเมินผู้เรียนรายบุคคล และการมอบใบประกาศนียบัตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนทราบขั้นตอนการประเมินรายบุคคลและการแจ้งกระบวนการติดตามการทำลานกางเต็นท์รายบุคคล
|
0 | 0 |
57. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ติดตามและให้คำแนะนำในการออกแบบพื้นที่ลานกางเต็นท์ของผู้เรียนตามพื้นที่ตั้งของที่ดิน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นางอุบลวรรณ สุขปลั่ง ชื่อลานกางเต็นท์ Love Tree Camp 2. นางลักขณา แสงทอง ชื่อลานกางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์ 3. นางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์ ชื่อลานกางเต็นท์ PP Garden Home
|
0 | 0 |
58. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่ที่ตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน ณ จังหวัดเพชรบุรี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนางลักขณา แสงทอง พื้นที่กางเต็นท์ ห้วยโสกคอฟฟี่แค้มป์ จังหวัดเพชรบุรี
|
0 | 0 |
59. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการลงพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อการติดตามการดำเนินงานการออกแบบพื้นที่เพื่อให้เป็นลานกางเต็นท์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลานกางเต็นท์ของนางสาวสาลินี ไมตรีสวัสดิ์
|
0 | 0 |
60. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำการให้คำแนะนำในกางวางแผนภูมิทัศน์การตั้งลานกางเต็นท์ผู้เรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลานกางเต็นท์ของคุณจิตติมา นิลสมัย ณ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ศาสตร์และศิลป์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชีวภาพกับธุรกิจลานกางเต็นท์สีเขียว (The Art and Science of Bio Innovative Tourism and A Green Campground Business) จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0098
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......