แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


“ นวัตกรรมอาหารแปรรูปเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ นวัตกรรมอาหารแปรรูปเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0079 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"นวัตกรรมอาหารแปรรูปเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
นวัตกรรมอาหารแปรรูปเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารแปรรูป และส่งเสริมสมรรถนะบัณฑิตพันธุ์ใหม่ตามนโยบายของภาครัฐบาล 2. เพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ในภาคกลุ่มอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร และถ่ายทอดความรู้ด้านการแปรรูปอาหารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย
โดยมี 2 PLO ดังนี้ PLO1 ออกแบบและวางแผนการตลาดในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ได้ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย PLO2 ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิต การแปรรูปอาหาร และการถนอมอาหาร ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการ หลักสูตรมีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 40 คน และเข้าร่วมจนจบโครงการจำนวน 38 คน แบ่งเป็นผู้ประกอบการและผู้สนใจจำนวน 27 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 11 คน สำหรับกลุ่มผู้เรียนที่เป็นผู้ประกอบการและผู้สนใจนั้นมีอาชีพที่หลากหลาย กล่าวคือ 1. เป็นบัณฑิตจบใหม่ต้องการหาอาชีพและรายได้ 2.เป็นข้าราชการ หรือพนักงานของรัฐ 3.เป็นผู้ประกอบการด้านอาหาร 4.เป็นลูกจ้างร้านอาหาร 5.เป็นเกษตรกร เป็นต้น หลักสูตรได้มีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันจัดการเรียนการสอนตาม PLO ที่ตั้งไว้ดังนี้   1. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพืชสนุมไพรอื่นๆ ทุกชนิดอัจฉริยะส่งออกและการนำเข้า ต.หนองกลับ อ.หนองบัว จ. นครสวรรค์
  2. วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านบังเวียน ม.7 ต.บางกระทุ่ม อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก
  3. วิสาหกิจชุมชนบ้านใหม่หนองแกทัพหลวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
  4. สถาบันอาหาร กรมอุตสาหกรรม แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
  5. บริษัทเบรทาโก จำกัด(มหาชน) แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
  6. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก
  7. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
  8. สาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ หลังจากเรียนจบหลักสูตรแล้วผู้เรียนมีผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่ผ่านการพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และมีการต่อยอดและนำผลิตภัณฑ์ไปจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ เช่นผู้เรียนที่เป็นเกษตรกร ปกติจำหน่ายเฉพาะพืชผลทางการเกษตรที่ผลิตได้จากในสวน หลังจากเรียนจบมีการนำพืชผักในสวนมาแปรรูปและจำหน่ายในชุมชน (กิมจิผักสลัด, เห็ดนางฟ้าสวรรค์) หรือการทำอาชีพเสริมสำหรับผู้เรียน โดยการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาต่อยอดหลังจากจบหลักสูตร เช่น น้ำซอสกุ้งอบวุ้นเส้นสำเร็จรูป พริกหวานดองสามรส น้ำเต้าหู้เสริมพรีไบโอติกส์ กล้วยทอดสมุนไพรต้มยำ เป็นต้น ข้อเสนอแนะ ได้แก่ หลังจากจบหลักสูตร พบว่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปส่วนใหญ่ที่ผู้เรียนสนใจพัฒนาต่อยอดนั้นเป็นอาหารแปรรูปที่ตรงตามความต้องการของตลาดและกลุ่มเป้าหมายโดยรอบชุมชน แต่ยังขาดไปสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้รักษาสุขภาพ ผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ เช่น เบาหวาน ไขมันในเส้นเลือด ความดันโลหิต เป็นต้น จึงมีการเสนอเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาหลักสูตรโดยการเพิ่มเนื้อหาและกิจกรรมที่ส่งเสริมอาหารแปรรูปเพื่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น เพราะแนวโน้มอาหารแปรรูปเพื่อสุขภาพมีตลาดและกำลังซื้อมาก หากมีการส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดจะเพิ่มรายได้ให้กับผู้เรียนและสถานประกอบการได้ ประกอบกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้เรียน(ด้านอาหารสุขภาพ) ก็มีจำนวนไม่น้อย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1 เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารแปรรูป และส่งเสริมสมรรถนะบัณฑิตพันธุ์ใหม่ตามนโยบายของภาครัฐบาล 2 เพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ในภาคกลุ่มอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร และถ่ายทอดความรู้ด้านการแปรรูปอาหารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 38
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารแปรรูป และส่งเสริมสมรรถนะบัณฑิตพันธุ์ใหม่ตามนโยบายของภาครัฐบาล 2. เพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ในภาคกลุ่มอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร และถ่ายทอดความรู้ด้านการแปรรูปอาหารไปสู่กลุ่มเป้าหมาย
    โดยมี 2 PLO ดังนี้ PLO1 ออกแบบและวางแผนการตลาดในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ได้ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย PLO2 ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิต การแปรรูปอาหาร และการถนอมอาหาร ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผู้เข้าร่วมโครงการ หลักสูตรมีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 40 คน และเข้าร่วมจนจบโครงการจำนวน 38 คน แบ่งเป็นผู้ประกอบการและผู้สนใจจำนวน 27 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 11 คน สำหรับกลุ่มผู้เรียนที่เป็นผู้ประกอบการและผู้สนใจนั้นมีอาชีพที่หลากหลาย กล่าวคือ 1. เป็นบัณฑิตจบใหม่ต้องการหาอาชีพและรายได้ 2.เป็นข้าราชการ หรือพนักงานของรัฐ 3.เป็นผู้ประกอบการด้านอาหาร 4.เป็นลูกจ้างร้านอาหาร 5.เป็นเกษตรกร เป็นต้น หลักสูตรได้มีความร่วมมือกับสถานประกอบการภายนอกมหาวิทยาลัยเพื่อร่วมกันจัดการเรียนการสอนตาม PLO ที่ตั้งไว้ดังนี้   1. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มพืชสนุมไพรอื่นๆ ทุกชนิดอัจฉริยะส่งออกและการนำเข้า ต.หนองกลับ อ.หนองบัว จ. นครสวรรค์
      2. วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านบังเวียน ม.7 ต.บางกระทุ่ม อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก
      3. วิสาหกิจชุมชนบ้านใหม่หนองแกทัพหลวง อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
      4. สถาบันอาหาร กรมอุตสาหกรรม แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
      5. บริษัทเบรทาโก จำกัด(มหาชน) แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
      6. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก
      7. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
      8. สาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ หลังจากเรียนจบหลักสูตรแล้วผู้เรียนมีผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปที่ผ่านการพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และมีการต่อยอดและนำผลิตภัณฑ์ไปจำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ เช่นผู้เรียนที่เป็นเกษตรกร ปกติจำหน่ายเฉพาะพืชผลทางการเกษตรที่ผลิตได้จากในสวน หลังจากเรียนจบมีการนำพืชผักในสวนมาแปรรูปและจำหน่ายในชุมชน (กิมจิผักสลัด, เห็ดนางฟ้าสวรรค์) หรือการทำอาชีพเสริมสำหรับผู้เรียน โดยการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาต่อยอดหลังจากจบหลักสูตร เช่น น้ำซอสกุ้งอบวุ้นเส้นสำเร็จรูป พริกหวานดองสามรส น้ำเต้าหู้เสริมพรีไบโอติกส์ กล้วยทอดสมุนไพรต้มยำ เป็นต้น ข้อเสนอแนะ ได้แก่ หลังจากจบหลักสูตร พบว่าผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปส่วนใหญ่ที่ผู้เรียนสนใจพัฒนาต่อยอดนั้นเป็นอาหารแปรรูปที่ตรงตามความต้องการของตลาดและกลุ่มเป้าหมายโดยรอบชุมชน แต่ยังขาดไปสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้รักษาสุขภาพ ผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อ เช่น เบาหวาน ไขมันในเส้นเลือด ความดันโลหิต เป็นต้น จึงมีการเสนอเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาหลักสูตรโดยการเพิ่มเนื้อหาและกิจกรรมที่ส่งเสริมอาหารแปรรูปเพื่อสุขภาพมากยิ่งขึ้น เพราะแนวโน้มอาหารแปรรูปเพื่อสุขภาพมีตลาดและกำลังซื้อมาก หากมีการส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดจะเพิ่มรายได้ให้กับผู้เรียนและสถานประกอบการได้ ประกอบกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้เรียน(ด้านอาหารสุขภาพ) ก็มีจำนวนไม่น้อย

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    นวัตกรรมอาหารแปรรูปเพื่อการเป็นผู้ประกอบการ จังหวัด

    รหัสโครงการ FN65/0079

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด