แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“ กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0050 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
บทคัดย่อ
โครงการ " กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0050 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
การติดตามความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
1. ติดตามจากพฤติกรรมในชั้นเรียน การตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น
2. วัดผลจากการผลงานที่ผู้เรียนทำส่งในชั่วโมงปฏิบัติการ และการบ้าน
3. วัดผลจากการสอบประมวลความรู้แต่ละรายวิชา
การจัดการหลักสูตรแบบ module ทำให้ผู้เรียนได้รับการปูพื้นฐานจากวิชาที่ 1 และมีการประเมินผู้เรียนด้วยกิจกรรมในชั้นเรียน และมีการติดตามผู้เรียนที่เข้าเรียนออนไลน์ผ่าน application insight เพื่อทำแบบสรุปผลการเข้าเรียนของผู้เรียนรายงานให้คณาจารย์ทราบ ทำให้สามารถติดตามผู้เรียนได้ว่าสามารถเรียนรู้ได้ทันตามแผนการเรียนหรือไม่ หลังการเปิดเรียนได้ 2-4 สัปดาห์ จึงพบว่ามีผู้เรียนที่ไม่สะดวกเข้าเรียนในช่วงวันหยุดเนื่องจากภาระงานประจำจึงยุติการเรียน 2 ราย ทำให้ยอดผู้เรียนเหลือ 38 คน
วิชาที่ 1 ตั้งผลลัพธ์การเรียนรู้ว่า ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญและประโยชน์ของมาตรฐาน ข้อกำหนด และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารได้ และสามารถระบุมาตรฐาน ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการผลิตและแปรรูปอาหารได้ มีการทำกิจกรรมในห้องเรียนเพื่อทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน ทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม และเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ทำการทดสอบด้วยแบบทดสอบความแม่นยำจำนวน 100 ข้อ พบว่าผู้เรียนจำนวน 25 คนเข้าสอบและมีผลการสอบอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ผู้เรียนสามารถระบุความสำคัญและประโยชน์ของกฎหมายได้และระบุมาตรฐานที่เกี่ยวข้องได้ ผู้เข้าสอบส่วนใหญ่มีคะแนนสูงกว่า ร้อยละ 60 ขึ้นไป
วิชาที่ 2 ตั้งผลลัพธ์การเรียนรู้ว่า ผู้เรียนสามารถเลือกใช้หรือออกแบบกระบวนการติดตามคุณภาพอาหาร ได้ตามมาตรฐาน ข้อกำหนด และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจอาหารได้ และสามารถเขียนฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับระบบการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยได้ ผู้เรียนจะได้รับโจทย์และแบบฟอร์มในการวิเคราะห์และจัดทำระบบคุณภาพ โดยมีการส่งงานทุกๆ 2 สัปดาห์ ซึ่งผู้เรียนร้อยละ 40 สามารถส่งงานได้ตามเป้าหมาย แต่ผู้เรียนส่วนใหญ่จะไม่มีเวลาทำงานส่งนอกชั่วโมงเรียน อาจเนื่องจากเป็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหาร ทำให้ผู้เรียนที่ไม่อยู่ในโรงงานมองภาพการทำระบบว่าเป็นเรื่องซับซ้อน หลังจากชั่วโมงบรรยายสิ้นสุด ผู้สอนได้จัดกิจกรรมพาผู้เรียนไปศึกาในโรงงานหรือสถานผลิตอาหาร เพื่อให้เห็นภาพการทำงาน เรียนรู้จากสถานการณ์ที่กำหนดให้ จากนั้นรวมกลุ่มและทำการอภิปรายร่วมกัน ทำให้ผู้เรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้กันและกัน
วิชาที่ 3 ตั้งผลลัพธ์การเรียนรู้ว่า ผู้เรียนสามารถวางแผนกระบวนการติดตามคุณภาพอาหารได้ตามข้อกำหนด กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องในโซ่อุปทานและบรรจุภัณฑ์ได้ ซึ่งมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจจากชิ้นงานที่ผู้เรียนส่งหลังชั่วโมงปฏิบัติการซึ่งทำการประเมินด้วยเกณฑ์ในระดับพื้นฐาน เช่น ให้ผู้เรียนระบุชนิดการขนส่ง และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการขนส่ง การทำแผนติดตามคุณภาพอาหารระหว่างขนส่ง การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมเพื่อรักษาคุณภาพอาหาร โดยทำการประเมินจากชิ้นผลงานที่ผู้เรียนนำส่ง และทำการทดสอบความรู้แบบองค์รวมในตอนท้ายของการเรียน
5. ขั้นตอนในการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานและหลักสูตร
1.ระหว่างดำเนินการ หลักสูตรมีการติดตามและสอบถามความคิดเห็นผู้เรียนเป็นระยะ ทำให้ทราบว่ามีผู้เรียนร้อยละ 50 มีปัญหาการเดินทางมาเรียนแบบออนไซท์ และมีปัญหาการเข้าเรียนที่ไม่สม่ำเสมอ
2.สอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อระบุปัญหาและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในชั้นเรียนผ่านไลน์กลุ่มอาจารย์ จึงพบว่าผู้เรียนกลุ่มเดียวกันมีพฤติกรรมแบบเดียวกันในทุกรายวิชา
3.เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน และรายงานต่อผู้ดูแลรายวิชา
4.นิสิตประเมินตนเอง ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และรายงานการนำความรู้ไปใช้ในสายงาน มีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50 ของผู้เรียน และส่วนใหญ่ได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะใหม่ (new skill)
5.นำผลการประเมินมาปรับปรุงการดำเนินงาน
5.1 เพื่อเพิ่มผลสำเร็จของผู้เรียนในหลักสูตร โดยเฉพาะกลุ่มผู้เรียนที่เรียนผ่านระบบออนไลน์ที่มีผลการเรียนไม่เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ เช่น หลักสูตรพิจารณาจัดทำสื่อการสอนที่น่าสนใจมากขึ้น และอาจใช้แนวทางการทำเนื้อหาและแบบทดสอบไว้ในระบบออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทบทวนด้วยตนเอง และสร้างแบบฝึกหัดออนไลน์
5.2 เพิ่มกิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลมากขึ้น
5.3 การคัดเลือกผู้เรียนในปีถัดไป ควรเน้นผู้เรียนที่สามารถเข้าเรียนแบบออนไซท์ได้ โดยพิจารณาจากผู้เรียนในกรุงเทพและปริมณฑล เป็นหลัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปได้ว่าผู้เรียนเกือบร้อยละ 50 มีความรู้ความสามารถเป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ และในจำนวนดังกล่าว มีผู้เรียนกว่าร้อยละ 50 ที่ไม่สามารถบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ได้ มีสาเหตุจาก
1.ผู้เรียนบางคนไม่ได้อยู่ในสายงานอุตสาหกรรมอาหารจึงขาดความรู้พื้นฐานด้านการผลิต อาจมองภาพกระบวนการไม่ออกจึงยากต่อการทำความเข้าใจ หลักสูตรจะเพิ่มเติมเนื้อหากระบวนการผลิตเข้าไปให้ผู้เรียนเห็นภาพก่อนนำกฎหมาย และมาตรฐานมาอธิบายตาม
2.ผู้เรียนอยู่ต่างจังหวัดและไม่สามารถเดินทางมาเรียนออนไซท์ได้ ปรับปรุงขั้นตอนการรับสมัครและคัดเลือกผู้เรียนที่มีสามารถเดินทางมาเรียนออนไซท์ได้เป็นกลุ่มหลัก
3.ผู้เรียนไม่มีเวลาฝึกฝนผ่านกิจกรรมและแบบฝึกหัด และบางคนเป็นเจ้าของกิจการที่มีภาระหน้าที่รับผิดชอบมากจึงไม่สามารถแบ่งเวลาได้ หลักสูตรพิจารณาปรับลดการบ้านเป็นการทำการฝึกฝนในชั้นเรียนแทน และอาจให้ผู้เรียนเขียนจากประสบการณ์จริงที่ทำอยู่ในสายงานของตน เพื่อลดภาระงานการบ้าน
38
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0050
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“ กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0050 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
บทคัดย่อ
โครงการ " กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0050 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
- การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดการเรียนการสอน รุ่นที่ 1 |
||
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำการติดตามความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปได้ว่าผู้เรียนเกือบร้อยละ 50 มีความรู้ความสามารถเป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ตั้งไว้ และในจำนวนดังกล่าว มีผู้เรียนกว่าร้อยละ 50 ที่ไม่สามารถบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ได้ มีสาเหตุจาก
1.ผู้เรียนบางคนไม่ได้อยู่ในสายงานอุตสาหกรรมอาหารจึงขาดความรู้พื้นฐานด้านการผลิต อาจมองภาพกระบวนการไม่ออกจึงยากต่อการทำความเข้าใจ หลักสูตรจะเพิ่มเติมเนื้อหากระบวนการผลิตเข้าไปให้ผู้เรียนเห็นภาพก่อนนำกฎหมาย และมาตรฐานมาอธิบายตาม
|
38 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
กฎหมาย ข้อกำหนดและมาตรฐานในอุตสาหกรรมอาหารสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัด
รหัสโครงการ FN65/0050
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......