directions_run

หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์


“ หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN66/0099 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย



บทคัดย่อ

ภาษาจีนถือว่าเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมสูงในสังคมไทยการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยถูกสอดแทรกในหลักสูตรการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา อย่างไรก็ดีวิธีสอน ของครูผู้สอน ภาษาจีน ส่วนใหญ่ยังคงเป็นแบบเน้นให้ผู้เรียนท่องจำ ดังนั้นวิธีสอนที่สร้างความเชื่อมโยงคำศัพท์และการนำ ไปใช้เพื่อ การสื่อสารเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาอย่างมีความหมาย การจัดการเรียนการสอนด้วยการนำเกม มาใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีน (ไพศาล สุขใจรุ่งวัฒนา, 2563) เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศใน การเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจ และมีความสุขในการเรียนสามารถทำได้ทั้งการจัดการเรียนรู้ ในห้องเรียน และการเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ณัฏฐา ผิวมา, 2564) ช่วยกระตุ้นจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนให้รู้สึกผ่อนคลายและพึงพอใจ ในการเล่น (ลดาวัลย์ แย้มครวญ และ ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล, 2560; Bostan, B., 2009)
การเรียนรู้ผ่านเกมเป็นวิธีหนึ่งในการเรียนรู้ที่มีจุดเด่น คือ การสร้างความสนุกสนานรวมเข้ากับ การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนอยู่ในสถานะที่ผ่อนคลายต่างกับการเรียนปกติที่สร้างความเครียดให้กับสมอง ส่งผล ต่อการปิดกั้นทางการรับรู้ และมีผลต่อจิตใจที่สำคัญ คือ ลดความเครียด ส่งเสริมปฏิกิริยา โต้ตอบ ส่งเสริมการเรียนรู้และความจำ สร้างเสริมแรงจูงใจ ป้องกันภาวะผิดปกติทางใจ (ฐปนนท์ สุวรรณกนิษฐ์, 2560)   หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐานสำหรับครูปฐมวัย รุ่นที่ 1 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เป็นหลักสูตรที่ได้รับงบประมาณโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ จากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในปี 2566` โดยกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (Program Learning Outcomes: PLO) ดังนี้ 1) สามารถสื่อสารภาษาจีนผ่านทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ในระดับพื้นฐานได้ 2) สามารถเลือกใช้สื่อที่สอดคล้องกับบริบทการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยได้ และ 3) สามารถออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐานได้ และเพื่อให้การบริหารจัดการหลักสูตรมีประสิทธิภาพ คณะผู้วิจัยจึงเห็นควรมีการประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้ เกมเป็นฐานสำหรับครูปฐมวัย เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียนต่อไป

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปฐมนิเทศ / สัทอักษรภาษาจีน (PINYIN) อบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. ภาษาจีนพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย
  3. ภาษาจีนพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
  4. การเลือกใช้สื่อเพื่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาจีนสำหรับเด็กปฐมวัย
  5. การจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาจีนกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  6. การจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐาน
  7. การจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐาน (ต่อ)
  8. บูรณาการองค์ความรู้กับการศึกษาดูงาน ณ สถานศึกษาต้นแบบ โรงเรียนจิ้นเต๊อะแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โรงเรียนวานิชวิทยา อ.บัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา การสาธิตและจัดประสบการณ์เรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐาน
  9. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พิธีมอบประกาศนียบัตร และประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

ภาษาจีนถือว่าเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมสูงในสังคมไทยการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยถูกสอดแทรกในหลักสูตรการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา อย่างไรก็ดีวิธีสอน ของครูผู้สอน ภาษาจีน ส่วนใหญ่ยังคงเป็นแบบเน้นให้ผู้เรียนท่องจำ ดังนั้นวิธีสอนที่สร้างความเชื่อมโยงคำศัพท์และการนำ ไปใช้เพื่อ การสื่อสารเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาอย่างมีความหมาย การจัดการเรียนการสอนด้วยการนำเกม มาใช้ในการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีน (ไพศาล สุขใจรุ่งวัฒนา, 2563) เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศใน การเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจ และมีความสุขในการเรียนสามารถทำได้ทั้งการจัดการเรียนรู้ ในห้องเรียน และการเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ณัฏฐา ผิวมา, 2564) ช่วยกระตุ้นจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนให้รู้สึกผ่อนคลายและพึงพอใจ ในการเล่น (ลดาวัลย์ แย้มครวญ และ ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล, 2560; Bostan, B., 2009)
การเรียนรู้ผ่านเกมเป็นวิธีหนึ่งในการเรียนรู้ที่มีจุดเด่น คือ การสร้างความสนุกสนานรวมเข้ากับ การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนอยู่ในสถานะที่ผ่อนคลายต่างกับการเรียนปกติที่สร้างความเครียดให้กับสมอง ส่งผล ต่อการปิดกั้นทางการรับรู้ และมีผลต่อจิตใจที่สำคัญ คือ ลดความเครียด ส่งเสริมปฏิกิริยา โต้ตอบ ส่งเสริมการเรียนรู้และความจำ สร้างเสริมแรงจูงใจ ป้องกันภาวะผิดปกติทางใจ (ฐปนนท์ สุวรรณกนิษฐ์, 2560)   หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐานสำหรับครูปฐมวัย รุ่นที่ 1 คณะการจัดการการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์เป็นหลักสูตรที่ได้รับงบประมาณโครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ จากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในปี 2566` โดยกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (Program Learning Outcomes: PLO) ดังนี้ 1) สามารถสื่อสารภาษาจีนผ่านทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ในระดับพื้นฐานได้ 2) สามารถเลือกใช้สื่อที่สอดคล้องกับบริบทการจัดประสบการณ์เรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยได้ และ 3) สามารถออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็นฐานได้ และเพื่อให้การบริหารจัดการหลักสูตรมีประสิทธิภาพ คณะผู้วิจัยจึงเห็นควรมีการประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้ เกมเป็นฐานสำหรับครูปฐมวัย เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ อันจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียนต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรประกาศนียบัตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนโดยใช้เกมเป็น ฐานสำหรับครูปฐมวัย จังหวัด

รหัสโครงการ FN66/0099

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด