directions_run

หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น


“ หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications) ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0018 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications)



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

1 เพื่อพัฒนากำลังคนให้มีศักยภาพสูงทั้งเชิงวิชาการและวิชาชีพ ที่ทันต่อความต้องการของการทำงานใน อุตสาหกรรมใหม่สู่ New S-Curve ด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งเน้นทางด้านการเพิ่มพูนทักษะในด้านวิทยาการข้อมูล และการประยุกต์ (Data Science and Applications)

2 เพื่อสร้างฐาน (Platform) การพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาทางด้านเทคโนโลยีโดยปรับเปลี่ยน รูปแบบการผลิตกำลังคน และสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการเรียนการสอน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการ ปฏิบัติในสถานที่จริงโดยมีความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) การออกแบบหลักสูตร
ได้ทำการออกแบบ หลักสูตรและได้รับคำแนะนำจาก มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงคือ สถาบันพระจอมเกล้าธนบุรีในการปรับปรุงโครงการ ซึ่งระหว่างการออกแบบได้มีความร่วมมือภายในกับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการช่วยออกแบบ หลักสูตร ร่วมไปถึงการให้ความต้องการในการพัฒนาทักษะที่งานทางการแพทย์ต้องใช้บ่อย ๆ ให้ความอนุเคราะห์ อาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ในการเป็นวิทยากร และให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ สำหรับความร่วมมือภายนอก บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด (มหาชน) ร่วมมือในการให้ Feedback ของหลักสูตร และให้ความอนุเคราะห์ ผู้เชี่ยวชาญจากบริษัท อินเทลลิจิสต์ จำกัด ในการเป็นวิทยากร และให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ
(2) การประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม และปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
(3) จัดการอบรม
(4) การนำเสนอผลงานของผู้เข้าอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม และปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
  2. จัดการอบรม
  3. การจัดการอบรม ชุดวิชาที่ 2 การฝึกปฏิบัติ
  4. การนำเสนอโครงงานของผู้เข้าร่วมอบรม
  5. ปฐมนิเทศนักศึกษา
  6. กระบวนการวิทยาการข้อมูล (Data Science Process) และ กรณีตัวอย่างกระบวนการวิทยาการข้อมูล (Data Science Process)
  7. การให้คำปรึกษา การกำหนดปัญหาที่น่าสนใจ เพื่อทำการเตรียมหัวข้อโครงงาน
  8. เครื่องมือทางวิทยาการข้อมูล และพื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพธอน (Basic Python Programming)
  9. การกำหนดปัญหาที่น่าสนใจ เพื่อทำการเตรียมหัวข้อโครงงาน
  10. การรวบรวมและการจัดการข้อมูลเบื่องต้น (Data Collection and Manipulation with Pandas)
  11. นำเสนอหัวข้อเพื่อทำการกำหนดที่ปรึกษา
  12. การทำความสะอาดข้อมูล (Data Cleaning) และการจัดการข้อมูลดาตาเฟรม
  13. การให้คำปรึกษาในการทำการเก็บรวบรวมข้อมูล
  14. การเรียนรู้ของเครื่องแบบมีผู้สอน และไม่มีผู้สอน (Supervised and Unsupervised learning machine learning )
  15. ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลและเตรียมข้อมูล
  16. การสร้างแบบจำลองเพื่อทำนายข้อมูลที่มีค่าต่อเนื่อง (Regression-Supervised machine learning)
  17. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื่องต้น
  18. การสร้างแบบจำลองเพื่อทำนายประเภทของข้อมูล (Classification-Supervised machine learning)
  19. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก
  20. การสร้างแบบจำลองเพื่อทำนายประเภทของข้อมูล (Classification-Supervised machine learning) + Imbalanced data
  21. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (ต่อ)
  22. การจัดกลุ่มข้อมูล Unsupervised Learning (Clustering) และ แบบจำลองเครือข่ายประสาทเทียมเชิงลึกแบบคอนโวลูชั่น และการประยุกต์ใช้ (Deep Convolutional Neural Network)
  23. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (ต่อ)
  24. แบบจำลองเครือข่ายประสาทเทียมเชิงลึกแบบคอนโวลูชั่น และการประยุกต์ใช้ (Deep Convolutional Neural Network)
  25. ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (ต่อ)
  26. ทำการทดสอบและ ประเมิน
  27. ทำการสรุปการดำเนินงาน
  28. การนำเสนอโครงงานของผู้เข้าร่วมอบรม และ การปิดการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ กำหนดจัดโครงการโครงการหลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Application) เพื่อเพื่อพัฒนากำลังคนให้มีศักยภาพสูงทั้งเชิงวิชาการและวิชาชีพ ที่ทันต่อความต้องการของการทำงานใน อุตสาหกรรมใหม่สู่ New S-Curve ด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งเน้นทางด้านการเพิ่มพูนทักษะในด้านวิทยาการข้อมูล และการประยุกต์ (Data Science and Applications)

โดยมีรูปแบบการดำเนินงานดังนี้

  1. ฝึกสอนเทคนิคทางวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ ผ่านระบบออนไลน์ และออนไซต์
  2. การฝึกปฏิบัติ โดยผู้เข้าอบรม ทำการยื่นข้อเสนอหัวข้อโครงงาน โดยจักถูกกำหนด อ. ที่ปรึกษาจากทางหลักสูตร ซึ่งจะทำการแบ่งผู้เข้าอบรมออกเป็น 10 กลุ่ม โดยมี อ. ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ ผู้เข้าร่วมอบรมทำการเสนอหัวข้อโครงงาน และปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ / หน่วยงานของตนเอง เป็นระยะเวลา 16 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ในช่วงสัปดาห์ที่ 1 – 10 และ 40 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ในช่วงสัปดาห์ที่ 11 – 12

กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นในวันที่ วันที่ 18 มิถุนายน – 10 กันยายน 2565 ณ วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ อาคารวิทยวิภาส มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น จำนวน 35 คน และ กลุ่มผู้เข้าร่วมแบบสังเกตุการณ์ (Audit) มีผู้สนใจทั้งสิ้น 53 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

1 เพื่อพัฒนากำลังคนให้มีศักยภาพสูงทั้งเชิงวิชาการและวิชาชีพ ที่ทันต่อความต้องการของการทำงานใน อุตสาหกรรมใหม่สู่ New S-Curve ด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งเน้นทางด้านการเพิ่มพูนทักษะในด้านวิทยาการข้อมูล และการประยุกต์ (Data Science and Applications)

2 เพื่อสร้างฐาน (Platform) การพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาทางด้านเทคโนโลยีโดยปรับเปลี่ยน รูปแบบการผลิตกำลังคน และสร้างต้นแบบของหลักสูตรและการเรียนการสอน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการ ปฏิบัติในสถานที่จริงโดยมีความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือภาคอุตสาหกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) การออกแบบหลักสูตร
ได้ทำการออกแบบ หลักสูตรและได้รับคำแนะนำจาก มหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงคือ สถาบันพระจอมเกล้าธนบุรีในการปรับปรุงโครงการ ซึ่งระหว่างการออกแบบได้มีความร่วมมือภายในกับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการช่วยออกแบบ หลักสูตร ร่วมไปถึงการให้ความต้องการในการพัฒนาทักษะที่งานทางการแพทย์ต้องใช้บ่อย ๆ ให้ความอนุเคราะห์ อาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ในการเป็นวิทยากร และให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ สำหรับความร่วมมือภายนอก บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด (มหาชน) ร่วมมือในการให้ Feedback ของหลักสูตร และให้ความอนุเคราะห์ ผู้เชี่ยวชาญจากบริษัท อินเทลลิจิสต์ จำกัด ในการเป็นวิทยากร และให้คำปรึกษาผู้เข้าร่วมโครงการ
(2) การประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมอบรม และปฐมนิเทศผู้เข้าอบรม
(3) จัดการอบรม
(4) การนำเสนอผลงานของผู้เข้าอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หลักสูตรฝึกอบรมและปฏิบัติการเร่งรัดด้านวิทยาการข้อมูลและการประยุกต์ (Data Science and Applications) จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0018

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด