directions_run

การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


“ การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0069 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism)



บทคัดย่อ

การพัฒนาการท่องเที่ยวระดับโลกเพื่อการรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและกลุ่มเชิงสุขภาพ เป็น กลุ่มเป้าหมายหลักที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อการยกระดับการท่องเที่ยวและคุณภาพการท่องเที่ยวในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ ดังพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคอีสานก็เป็นกลุ่มจังหวัดที่มีศักยภาพด้านสมุนไพรและพืชท้องถิ่นที่มีสรรพคุณเป็นยา และสามารถนำมาเป็นวัตถุดิบการประกอบอาหาร ตลอดจนภาคอีสานยังมีวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่เหมาะกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการฟื้นฟูการท่องเที่ยวเพื่อการยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยควบคู่มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ดังที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้กล่าวไว้ถึงความต้องการพัฒนาให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภาคอีสาน (Isan Wellness Tourism) เพื่อการปรับตัวเพื่อวิธีการท่องเที่ยวแบบ new normal ภายหลังวิกฤตโควิด-19 บุคลากรและผู้ประกอบการในท้องถิ่นมีความจำเป็นจะต้องได้รับความรู้และทักษะเพื่อการเป็นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ทั้งทักษะด้านสุขอนามัย การดูแลสุขภาพในรูปแบบต่างๆ โภชนาการ การจัดรูปแบบการท่องเที่ยว และการเป็นผู้ประกอบการ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
2. เพื่อผลิตบุคลากรให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
3. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. เพื่อผลิตบุคลากรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ 5. เพื่อผลิตบุคลากรให้ใช้ภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  2. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
  3. การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม
  4. การจัดการเรียนวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 8 หัวข้อผ่านระบบ online
  5. การอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ณ พื้นที่จังหวัดที่ตั้งของสถานประกอบการ หัวข้อ “การออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เส้นทาง กิจกรรม ที่พักและอาหาร”
  6. การอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ณ พื้นที่จังหวัดที่ตั้งของสถานประกอบการ หัวข้อ “เทคโนโลยีดิจิตอลและภาษาต่างประเทศเพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ”
  7. กิจกรรมการประเมินผู้เรียน
  8. กิจกรรมการการลงพื้นที่สถานประกอบการ
  9. ใบประกาศนียบัตร
  10. กิจกรรมการบันทึกเทปการสอนภาคทฤษฎี
  11. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  12. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  13. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  14. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  15. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  16. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  17. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  18. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  19. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  20. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  21. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  22. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  23. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  24. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  25. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  26. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  27. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  28. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  29. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  30. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  31. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  32. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
  33. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  34. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
  35. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
  36. การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม
  37. การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม
  38. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน
  39. การปฐมนิเทศน์ผู้เรียนเพื่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
  40. หัวข้อ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  41. หัวข้อ: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ
  42. หัวข้อ: แนวคิดและหลักการการออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  43. การลงพื้นที่เพื่อประชุมกับสถานประกอบการและผู้เข้าอบรม (อุดรธานี หนองคาย ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร)
  44. หัวข้อ: การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ
  45. หัวข้อ: การจัดการการท่องเที่ยว
  46. หัวข้อ: การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข
  47. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เสกกราฟฟิกสวยด้วย Canva)
  48. หัวข้อ: มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย
  49. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  50. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  51. มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว (CPR)
  52. การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ
  53. ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  54. ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  55. หัวข้อ: การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น
  56. การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ
  57. การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร
  58. การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน
  59. การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน
  60. การเข้าศึกษาพื้นที่สถานประกอบการ
  61. การนำส่งใบประกาศนียบัตร
  62. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน
  63. การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน
  64. การประกาศรายชื่อผู้เรียนและการยืนยันสิทธิ์
  65. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  66. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  67. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  68. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  69. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  70. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ
  71. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
  72. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
  73. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
  74. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน

วันที่ 1 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประชาสัมพันธ์โครงการผ่านระบบออนไลน์และออนไซท์ผ่านช่องทางของมหาวิทยาลัย การท่องเที่ยวจังหวัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การได้ผู้สมัครจำนวน 145 คนและผู้ที่มีคุณสมบัติและผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้าอบรมจำนวน 43 คน

 

40 0

2. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน

วันที่ 1 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การรับสมัครผู้เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สมัครจำนวน 128 คน

 

45 0

3. การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม

วันที่ 18 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ การยืนยันสิทธิ์ผู้เข้าอบรม

 

45 0

4. การประกาศรายชื่อผู้สมัครที่มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้ารับการอบรม

วันที่ 18 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประกาศสรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมและการยืนยันสิทธิ์ของผู้เข้าอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต: ผู้มีสิทธิ์เข้าอบรมจำนวน 43 คน

 

45 0

5. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

วันที่ 19 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมวางแผนการดำเนินงานการจัดการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ตารางการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

 

10 0

6. การปฐมนิเทศน์ผู้เรียนเพื่อการเตรียมความพร้อมสำหรับการเรียนและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

วันที่ 30 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการปฐมนิเทศน์ผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course โดยแนะนำหลักสูตร คณะอาจารย์ ข้อกำหนดและเงื่อนไขในการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ การสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับข้อกำหนดและเงื่อนไขในการอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

 

50 0

7. หัวข้อ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.)
ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าเรียนย้อนหลังผ่านระบบออนไลน์ได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.1 การสร้าง Animation จาก Templates สำเร็จรูป
EP.2 การสร้าง Animation จาก Blank Slide
EP.3 การสร้าง Infographic เคลื่อนไหว
EP.4 การตัดต่อคลิปวีดีโอด้วยแอปพลิเคชั่นจากโทรศัพท์มือถือ
EP.5 การตัดต่อคลิปวีดีโอด้วยแอปพลิเคชั่นจากโทรศัพท์มือถือ
EP.6 การตัดต่อคลิปวีดีโอด้วยแอปพลิเคชั่นจากโทรศัพท์มือถือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

PLO 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการออกแบบธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ หัวข้อ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ผลลัพธ์: CLO1 ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการการนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ CLO3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการออกแบบธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน

 

43 0

8. หัวข้อ: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ

วันที่ 7 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าศึกษาย้อนหลังได้ที่
Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/
EP.7 การใช้ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจด้านการบริการ
EP.8 การต้อนรับลูกค้าหรือผู้มาใช้บริการ
EP.9 การจัดการเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ
EP.10 How to use your First Aid Kits & Contents
EP.11 How to use your First Aid Kits & Contents
EP.12 How to use your First Aid Kits & Contents

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หัวข้อ: ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ
CLO 2 : ผู้เข้าอบรมสามารถใช้ภาษาอังกฤษระดับต้นในการสื่อสารในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ CLO 2: ผู้เข้าอบรมเข้าใจความหมายของประโยคสนทนาที่ใช้ในการสื่อสารในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ CLO 2: ผู้เข้าอบรมใช้ภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้

 

43 0

9. หัวข้อ: แนวคิดและหลักการการออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 13 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ Ep.13 ภาพรวมเกี่ยวกับธุรกิจสุขภาพ
EP.14 ธุรกิจสุขภาพประเภทดูแลความงามและการต่อต้านริ้วรอย
Ep.15 ธุรกิจสุขภาพประเภทการกินเพื่อสุขภาพโภชนาการและการดูแลน้ำหนัก
Ep.16 ธุรกิจสุขภาพประเภทการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ
Ep.17 ธุรกิจสปา
Ep.18 ธุรกิจการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์: CLO 1 ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการออกแบบธุรกิจสุขภาพได้ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้การท่องเที่ยวกับการออกแบบธุรกิจสุขภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

 

43 0

10. การลงพื้นที่เพื่อประชุมกับสถานประกอบการและผู้เข้าอบรม (อุดรธานี หนองคาย ขอนแก่น นครพนม มุกดาหาร)

วันที่ 18 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมกับกลุ่มผู้ประกอบการจังหวัดอุดรธานีเพื่อการดำเนินการอบรมภาคปฎิบัติสำหรับกลุ่มผู้อบรมภาคอีสาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้รับความร่วมมือกับโรงเรียนแพทย์แผนไทยจังหวัดอุดรธานี 2.โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย เขตสุขภาพที่ 8 (อุดรธานี) 3.บริษัทมณีนาคา สปา แอนด์ บิ้วตี้ จำกัด 4.นวดบัคคัก อุดรธานี 5.โรงเรียนนวดแผนไทย สายสลิลอคาเดมี อุดรธานีอคาเดมี

 

25 0

11. หัวข้อ: การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.19 แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการที่ดี
EP.20 เทคนิคการเข้าถึงใจลูกค้าสำหรับผู้ประกอบการ
EP.21 แนวคิดการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
EP.22 แนวคิดการบริหารจัดการอาหารเสริมสุขภาพ
EP.23 แนวคิดการดำเนินงานธุรกิจสปาเพื่อสุขภาพของผู้ประกอบการ
EP.24 แนวคิดการจัดการธุรกิจด้านการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของผู้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์: 2) การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ CLO 1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพเพื่อการดำเนินการธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม

 

43 0

12. หัวข้อ: การจัดการการท่องเที่ยว

วันที่ 25 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.25 การจัดการท่องเที่ยว
EP.26 การตลาดเพื่อการจัดการท่องเที่ยว
EP.27 การจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว
EP.28 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
EP.29 การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
EP.31 การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวในประสบการณ์ของผู้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ 3) การจัดการการท่องเที่ยว
CLO 1 ผู้อบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดด้านการจัดการการท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้องตามหลักการ CLO 1 ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ใช้ในการจัดการงานด้านธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถทำงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพและมีคุณธรรม จริยธรรม

 

43 0

13. หัวข้อ: การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข

วันที่ 1 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดเนื้อหาการอบรม 1.ความหมายของการจัดนำเที่ยว 2.องค์ประกอบของการจัดนำเที่ยว 3.การจัดนำเที่ยว 4.การออกแบบและการเขียนรายการนำเที่ยว 5.การวิจัยเพื่อการท่องเที่ยว การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

4) การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข
ผลลัพธ์ CLO 1 ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) CLO 2 ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบผลผลิตการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจได้ CLO 3 ผู้เข้าอบรมสามารถสื่อสารการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) ได้

 

43 0

14. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เสกกราฟฟิกสวยด้วย Canva)

วันที่ 11 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (เสกกราฟฟิกสวยด้วย Canva) -INFOGRAPHIC DESIGN RULES -การสร้างกราฟิก ภาพประกอบ และโปสเตอร์สื่อประชาสัมพันธ์ด้วยสมาร์ทโฟน จาก Application Canva หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าชมคลิปการฝึกภาคปฎิบัติได้ที่               Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/               EP.32: 01-02 สกกราฟิกสวยด้วย Canva เข้าดูใช้งาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตของกิจกรรมภาคปฎิบัติ: การประชาสัมพันธ์ธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพผ่านระบบ Social media
ผลลัพธ์: ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบการประชาสัมพันธ์ธุรกิจท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ

 

43 0

15. หัวข้อ: มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย

วันที่ 13 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.46 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสุขอนามัยและความปลอดภัย
EP.47 แนวคิดสุขอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
EP.48 เกณฑ์การรับรองคุณภาพสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ
EP.49 การบริการจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
EP.50 มาตรฐานความปลอดภัย SHA/SHA Plus/SHA Extra Plus
EP.51 ความสัมพันธ์ของมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ 6) มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย CLO1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและหลักการมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ CLO3 ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยเพื่อการปฎิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้

 

43 0

16. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 19 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -การทำน้ำอบ น้ำปรุง เครื่องหอม สำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -กลิ่นและฤดูกาลสำหรับการเลือกใช้ในธุรกิจสุขภาพ -การนวดสวีดิช -ทักษะการใช้หินเพื่อการบำบัด หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถเข้าชมคลิปการฝึกภาคปฎิบัติย้อนหลังได้ที่
              Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/               EP.33: 01-02 น้ำอบน้ำปรุงสูตรชาววังสวนดุสิต เข้าดูใช้งาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-การทำน้ำอบ น้ำปรุง เครื่องหอม สำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -กลิ่นและฤดูกาลสำหรับการเลือกใช้ในธุรกิจสุขภาพ -การนวดสวีดิช -ทักษะการใช้หินเพื่อการบำบัด

 

30 0

17. กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ: การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 25 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพจากบริษัทโซดาเมเนจเมนท์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์การอบรมภาคปฎิบัติ: ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยวตามบริบทของพื้นที่ภูมิลำเนา

 

30 0

18. มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว (CPR)

วันที่ 26 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการอบรมภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว
-การใช้สมุนไพรเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น -CPR เพื่อการช่วยชีวิต -การปฐมพยาบาลตามศาสตร์แผนไทย (แก้อาการเศษอาหารติดหลอดลม แก้พิษงู ลมชัก ตะคริว) หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถรับชมเพื่อศึกษาการอบรมภาคปฎิบัติย้อนหลังได้ที่               Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/               Ep: มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การสอบภาคปฎิบัติรายบุคคล: -การใช้สมุนไพรเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น -CPR เพื่อการช่วยชีวิต -การปฐมพยาบาลตามศาสตร์แผนไทย

 

43 0

19. การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การจดทะเบียนการประกอบธุรกิจ ตัวอย่างเอกสาร คุณสมบัติการเป็นผู้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์: การจดทะเบียนการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ

 

0 0

20. ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การฝึกปฎิบัติทักษะด้านหัตถเวช -การนวดราชสำนักเพื่อสุขภาพ -การนวดเท้าเพื่อสุขภาพ -การนวดประคบเพื่อรักษาอาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การสอบภาคปฎิบัติทักษะด้านหัตถเวช -การนวดราชสำนักเพื่อสุขภาพ -การนวดเท้าเพื่อสุขภาพ -การนวดประคบเพื่อรักษาอาการ

 

43 0

21. ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยแบ่งกลุ่มย่อย วิทยากรหลัก: อาจารย์ธัญยภัสกรณ์  คูหาทอง วิทยากรประจำกลุ่ม: อาจารย์ณัชชนิกา  เมืองเม็ก                           อาจารย์เสนาะจิตร สิริเลิศธีรกุล                           อาจารย์วิภาพร เผือกวัฒนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต: ผู้เข้าอบรมสามารถปฎิบัติงานโดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการเรียนรู้ทักษะสุคนธบำบัด ได้แก่ กลิ่นและสีสำหรับธุรกิจสุขภาพ การนวดสวีดิช การนวดลดเซลลูไลท์ การนวดเพื่อการบำบัดอาการสำหรับผู้ออกกำลังกาย/นักกีฬา ผลลัพธ์: ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะโดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดและประเมินผลผู้เรียน: การประเมินผลผู้เรียนระหว่างการเข้าร่วมกิจกรรม และการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานร่วมกัน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการซักถามอย่างไม่เป็นทางการ

 

43 0

22. หัวข้อ: การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดเนื้อหาการอบรม 1.ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม 2.การท่องเที่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม 3.อาหารเพื่อสุขภาพกับสมุนไพรท้องถิ่นในธุรกิจสุขภาพ 4.หลักการคัดสรรวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อชูความเป็นอัตลักษณ์ทางธุรกิจสุขภาพ 5.การเพิ่มมูลค่าของอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์เฉพาะทางธุรกิจสุขภาพ 6.ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นเพื่อการประกอบธุรกิจสุขภาพ การจัดการสอนผ่านระบบออนไลน์ SDU Online course (ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 30 สิงหาคม 2565 เวลา 17.00 - 20.00 น.) โดยผู้อบรมสามารถเปิดระบบเรียนและทบทวนบทเรียนได้ที่ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ EP.34 ความหมายและความสำคัญของการออกแบบอาหารและเครื่องดื่ม
EP.35 การท่องเที่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มสำคัญอย่างไร
EP.38 การเพิ่มมูลค่าของอาหารท้องถิ่นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของประเทศไทยที่เป็นแหล่งวัตถุดิบอาหาร
EP.39 ตัวอย่างในการนำเสนอวัตถุดิบท้องถิ่นที่นำมาแปรรูปจนเป็นอัตลักษณ์ของอาหารประจำท้องถิ่น
EP.52 การออกแบบรายการอาหารสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ แคบหมูซอสมะขามสามรสตะไคร้กรอบ EP.53 การออกแบบรายการอาหารสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ขนมสายบัว
EP.54 การออกแบบรายการอาหารสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ แสร้งว่ากุ้ง
EP.55 การออกแบบรายการอาหารสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เกสรลำเจียก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์ 5) การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น CLO 1 ผู้เข้าอบรมมีความเข้าใจโดยสามารถอธิบายแนวคิดและขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น CLO 2 ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นได้

 

43 0

23. การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ วิทยากร: ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล ดร.กนกพรรณ  จุลคำภา อ.สลิลลดา  คูหาทอง             ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความรู้และทักษะการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ ผลผลิต: เส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตามบริบทท้องถิ่น ผลลัพธ์: ผู้เข้าอบรมสามารถการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน: การประเมินผลผู้เรียนระหว่างการเข้าร่วมกิจกรรม และการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานร่วมกัน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการซักถามอย่างไม่เป็นทางการ

 

43 0

24. การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร

วันที่ 23 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ วิทยากรหลัก: อาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ และ พว.อนุสรณ์  สนิทชล
วิทยากรกลุ่ม: คุณกัลยรัตน์ พรหมพลจร  ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล                   ผศ. วริษฐา แก่นศานต์สันติ ผศ.ดร. รุ่งนภา เลิศพัชรพงศ์                   ผศ.ดร.เพ็ญพักร์ศิณา วิเชียรวรรณ
ความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร วิทยากรหลัก : อาจารย์ก่อเกียรติ  พลแสง และอาจารย์พงษ์อนันต์ ศิริแสงไพรวัลย์ วิทยากรกลุ่ม: อาจารย์สุคนธ์ญาณี เถื่อนธรรมโฮง ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ หมายเหตุ: ผู้เข้าอบรมสามารถรับชมภาพการสอนภาคปฎิบัติย้อนหลังได้ใน
              Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/               Ep: 52-55

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร -การนำวัตถุดิบในท้องถิ่นมาปรับใช้เพื่อการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ เมนูแสร้งว่ากุ้ง ขนมสายบัว เกสรลำเจียก แค๊ปหมูซ๊อสมะขาม น้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่ ขนมปุยฝ้ายไข่ไอโอดีน
-เทคนิคการจัดอุปกรณ์สำหรับเสิร์ฟอาหารในรูปแบบต่างๆ -ความรู้เรื่องพืชและสมุนไพรท้องถิ่น การเลือกสมุนไพรเพื่อการประกอบอาหาร การวัดและประเมินผลผู้เรียน: การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการซักถามอย่างไม่เป็นทางการ

 

43 0

25. การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน

วันที่ 6 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการประเมินผู้เรียนการสอบภาคปฏิบัติ:
- การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ  คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ - ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต: ผู้เข้าอบรมสามารถมีความรู้และทักษะดังต่อไปนี้อย่างถูกต้อง - ขั้นตอนของการดำเนินการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม - ขั้นตอนการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจได้ครบถ้วน - นำเสนอการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ - ขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น - นำเสนอการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น

 

43 0

26. การลงพื้นที่ประเมินผู้เรียน

วันที่ 13 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการประเมินผู้เรียนการสอบภาคปฏิบัติ หัวข้อ ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเมินผู้เรียนโดย
1. อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง
2. อาจารย์ก่อเกียรติ พลแสง
3. อาจารย์อภิชาติ ม่วงชา
4. อาจารย์วิไลลักษณ์ เรียงไข
5. อาจารย์ณัชชนิกา เมืองเม็ก 6. ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนมีความรู้และทักษะดังนี้ -ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนของการดำเนินการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม -ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจได้ครบถ้วน - นำเสนอการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (Package Tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ - ความถูกต้องและครบถ้วนของขั้นตอนการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น -นำเสนอการออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น

 

43 0

27. การเข้าศึกษาพื้นที่สถานประกอบการธุรกิจสุขภาพ

วันที่ 24 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การเข้าเยี่ยมชมของผู้เข้าอบรมและพบปะเพื่อศึกษาทักษะและความรู้ภาคการปฎิบัติกับสถานประกอบด้านการบริหารจัดการสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การได้รับความรู้และทักษะการทำงานจริงเกี่ยวกับ - การบริหารจัดการสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพประเภท ธุรกิจสุขภาพเพื่อความงาม ธุรกิจสุขภาพเพื่อการแก้อาการ ธุรกิจสุขภาพเพื่อการพักผ่อน - การจัดหาแหล่งทุนและการจดทะเบียนเพื่อการเปิดธุรกิจสุขภาพเพื่อการท่องเที่ยว - การจัดพื้นที่การให้บริการสำหรับสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพ

 

30 0

28. การนำส่งใบประกาศนียบัตร

วันที่ 1 กันยายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

การนำส่งใบประกาศนียบัตรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อุดรธานี ขอนแก่น นครพนม อุบลราชธานี ระนอง ตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ใบประกาศนียบัตรจำนวน 43 แผ่น

 

43 0

29. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เรียน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การประกาศรับสมัครผู้เรียนผ่านระบบ online ได้แก่ Website, Facebook  ของคณะและมหาวิทยาลัย
  2. การรวบรวมรายชื่อผู้สมัคร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้สมัคร 135 คน

 

40 0

30. การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตารางการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

 

0 0

31. การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมคณะกรรมการดำเนินงานและสถานประกอบการเพื่อการวางแผนการจัดการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตารางการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ

 

0 0

32. การประกาศรายชื่อผู้เรียนและการยืนยันสิทธิ์

วันที่ 8 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสัมภาษณ์ผู้สมัครผ่านระบบ online ตามคุณสมบัติที่ได้ระบุไว้ในหลักสูตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประกาศรายชื่อผู้มีคุณสมบัติของผู้เรียนจำนวน 55 ท่านและได้รับการยืนยันสิทธิ์จำนวน 55 ท่าน

 

40 0

33. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ หัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
(กายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาเพื่อการประกอบธุรกิจสุขภาพ) โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

34. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ กฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพ
โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์วัธชัย  บุญเสนอ - อาจารย์สลิลลดา  คูหาทอง
- ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านกฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้๔กต้องตามกฎหมายและจรรณยาบรรณเพื่อการให้บริการธุรกิจสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและมีจรรยาบรรณ

 

55 0

35. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 3 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ธรรมะกับสมาธิเพื่อสุขภาพ โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านธรรมะกับสมาธิเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

55 0

36. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 4 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
-อาจารย์กัลยรัตน์ พรหมพลจร - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข
- ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านทฤษฎีการแพทย์แผนไทยเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

37. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 5 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ เภสัชกรรมเบื้องต้นและความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์ก่อเกียรติ  พลแสง - ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์ - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านเภสัชกรรมเบื้องต้นและความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

38. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 6 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ประวัติ องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้การนวดไทย เส้นประสาทสิบ โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์อาริสา นามกอง - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข
- อาจารย์สลิลลดา  คูหาทอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านประวัติ องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้การนวดไทย เส้นประสาทสิบ เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

39. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 7 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การตรวจร่างกายเบื้องต้น โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์สลิลลดา  คูหาทอง - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข
- อาจารย์อภิชาติ ม่วงชา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการตรวจร่างกายเบื้องต้นเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

0 0

40. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การนวดไทยเพื่อสุขภาพ โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์กัลยรัตน์ พรหมพลจร - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข
- อาจารย์อภิชาติ ม่วงชา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการนวดไทยเพื่อสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดไทยเพื่อสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

41. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การดัดตนและการบันทึกผลการนวด โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์วัธชัย บุญเสนอ - อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง
- อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการดัดตนและการบันทึกผลการนวดเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

42. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การนวดไทยผ่อนคลาย และการทบทวนการนวดไทยเพื่อสุขภาพ โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์อาริสา นามกอง - อาจารย์วิลัยลักษณ์ เรียงไข
- ภกญ.อุมาพร เจริญสวัสดิ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการนวดไทยผ่อนคลายและการนวดไทยเพื่อสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดไทยผ่อนคลายและการนวดไทยเพื่อสุขภาพได้ตามมาตรฐานปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

43. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 11 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้า โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์อาริสา นามกอง - อาจารย์อภิชาติ ม่วงชา - อาจารย์พรณิภา วรรณสิงห์ - อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง - อาจารย์ก่อเกียรติ พลแสง - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้าเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านทักษะการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์และทักษะการนวดเท้าได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

44. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ทักษะการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย) โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์สลิลลดา  คูหาทอง
- อาจารย์พรณิภา วรรณสิงห์ - อาจารย์วิไลลักษณ์ เรียงไข - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย)เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านการนวดหน้าเพื่อธุรกิจสุขภาพ(การนวดหน้าระบายน้ำเหลืองและการขัดผิวด้วยสมุนไพรไทย)ได้ตามมาตรฐานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

55 0

45. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 18 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) โดยทีมวิทยากร ประกอบด้วย
- อาจารย์สลิลลดา คูหาทอง - อาจารย์วัธชัย บุญเสนอ - ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล - อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา 1. ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) เพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานด้านมาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับการให้บริการธุรกิจสุขภาพ (หลักการหัตถการฉุกเฉินเพื่อการปฐมพยาบาลเบื้องต้น) ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณะสุขได้

 

55 0

46. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - มาตรฐานการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข - การวิเคราะห์กลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม - การวิเคราะห์บริบทพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม - กฎหมายและข้อปฎิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - ตัวอย่างเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยทีมวิทยากรจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย คุณสุริยัน โสรินทร์ คุณอภิชาติ ม่วงชา ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

55 0

47. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 2 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติกับผู้เชี่ยวชาญและสถานประกอบการ ความรู้และทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ - กฎหมายสำหรับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ - การจดทะเบียนผู้ประกอบการ การบริหารการเงินธุรกิจ การหาแหล่งทุน การจัดทำภาษี สำหรับธุรกิจสุขภาพ - คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการ: อาจารย์สลิลลดา  คูหาทอง ดร.กนกพรรณ จุลคำภา ผศ.ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล อาจารย์เอกชัย จากศรีพรหม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสำเร็จการศึกษา ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

55 0

48. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การออกแบบและการจัดการพื้นที่ของสถานประกอบการเพื่อธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว
- บายศรี Soft power แห่งวัฒนธรรมอีสาน - การออกแบบพื้นที่เพื่อการบริการ - การหารายได้จาก Soft power

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

PLO 2 ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการออกแบบและการจัดการพื้นที่ของสถานประกอบการเพื่อธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

0 0

49. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ทักษะทางภาษาอังกฤษไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

 

55 0

50. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 16 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เพื่อการออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อการประกอบอาชีพในธุรกิจสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

55 0

51. กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติ

วันที่ 17 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

 

55 0

52. กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ

วันที่ 29 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการเสวนา “How to be A Wellness business designer for tourism” ร่วมเสวนาโดยทีม SDU Wellness business designer

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียนนำเสนอนิทรรศการองค์ความรู้และทักษะจากการเรียนการสอนของหลักสูตรการออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism)

 

0 0

53. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การลงพื้นที่ติดตามการได้งานทำของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายสุนันท์ แก้วมณีชัย และนางพรละไม แก้วมณีชัย กำลังดำเนินงานก่อสร้างสถานประกอบการธุรกิจสุขภาพและการท่องเที่ยว ณ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

 

0 0

54. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การลงพื้นที่ติดตามการมีงานทำของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เรียน นางภารดี จันทะพันธ์ เปิดธุรกิจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเพื่อต่อยอดการเรียน

 

0 0

55. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การลงพื้นที่สัมภาษณ์การมีงานทำของผู้เรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การได้งานทำ ณ สถานประกอบการสุขภาพ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชื่อหลักสูตร: การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) รุ่นที่ 1 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ชื่อ เบอร์โทรศัพท์ และ e-mail): ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพริน เวชธัญญะกุล เบอร์โทรศัพท์ 089-4484489
                                          e-mail: kimmy_pairin@hotmail.com แผนการรับนักศึกษา: จำนวนนักศึกษาต่อรุ่น ......40.....คน  จำนวน ....2...รุ่น               ระยะเวลาในการจัดการศึกษา (ช่วงเวลาเริ่มต้นจนจบหลักสูตร) ....6.... เดือน           จำนวนชั่วโมงในการดำเนินการ ......285....ชม. (ทฤษฎี .....60.... ชม. , ปฏิบัติ ....225...ชม.)       จำนวนชั่วโมงในการดำเนินการสอนต่อไม่น้อยกว่า ...12..ชม.ต่อรายวิชา
              ระยะเวลาตลอดหลักสูตร 2 วัน/สัปดาห์ ระยะเวลา 6 เดือน (วัน/สัปดาห์/เดือน) ที่มาของการกำหนดแนวคิด เหตุผล และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร:       การพัฒนาการท่องเที่ยวระดับโลกเพื่อการรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและกลุ่มเชิงสุขภาพ เป็น กลุ่มเป้าหมายหลักที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อการยกระดับการท่องเที่ยวและคุณภาพการท่องเที่ยวในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ ดังพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคอีสานก็เป็นกลุ่มจังหวัดที่มีศักยภาพด้านสมุนไพรและพืชท้องถิ่นที่มีสรรพคุณเป็นยา และสามารถนำมาเป็นวัตถุดิบการประกอบอาหาร ตลอดจนภาคอีสานยังมีวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่เหมาะกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการฟื้นฟูการท่องเที่ยวเพื่อการยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยควบคู่มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ดังที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้กล่าวไว้ถึงความต้องการพัฒนาให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภาคอีสาน (Isan Wellness Tourism) เพื่อการปรับตัวเพื่อวิธีการท่องเที่ยวแบบ new normal ภายหลังวิกฤตโควิด-19 บุคลากรและผู้ประกอบการในท้องถิ่นมีความจำเป็นจะต้องได้รับความรู้และทักษะเพื่อการเป็นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ทั้งทักษะด้านสุขอนามัย การดูแลสุขภาพในรูปแบบต่างๆ โภชนาการ การจัดรูปแบบการท่องเที่ยว และการเป็นผู้ประกอบการ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรการออกแบบธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประกอบด้วย
1. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
2. เพื่อผลิตบุคลากรให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
3. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. เพื่อผลิตบุคลากรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ 5. เพื่อผลิตบุคลากรให้ใช้ภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้
การจัดการเรียนการสอน: การกำหนดเนื้อหาสาระและโครงสร้างหลักสูตรที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ วิชาพื้นฐานวิชาชีพ ได้แก่ 1) แนวคิดและหลักการการออกแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 2) การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ 3) การจัดการการท่องเที่ยว 4) การออกแบบรายการนำเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ (package tour) เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย อารมณ์ จิตใจและความสุข 5) การออกแบบรายการอาหาร/เครื่องดื่มสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่น 6) มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัย 7) การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับการออกแบบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 8) ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจสุขภาพ (การบรรยายผ่านระบบ Website: https://onlinecourse.dusit.ac.th/ ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต )         วิชาภาคปฎิบัติ: 1) การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสุขภาพ 2) มาตรฐานสุขอนามัยและความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยว 3) ทักษะหัตถเวชเพื่อการผ่อนคลายสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 4) ทักษะสุคนธบำบัดสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 5) การออกแบบเส้นทางและกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 6) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับการประกอบธุรกิจสุขภาพ 7)การออกแบบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความรู้เรื่องสมุนไพรท้องถิ่นเพื่อการประกอบอาหาร จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมหลักสูตรโครงการฯ 43 คน
ประเมินประสิทธิภาพของการดำเนินการจัดการเรียนการสอน เชิงปริมาณ: ผู้เข้าอบรมสำเร็จการอบรมตามหลักสูตร จำนวน 43 คน และมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการอบรมกับหลักสูตร ร้อยละ 90 เชิงคุณภาพ: ผู้สำเร็จการอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้หรือส่งเสริมในการประกอบอาชีพในด้านธุรกิจสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและสุขภาพได้ ดังเช่น การได้งานทำที่เพิ่มขึ้นของผู้เข้าอบรมและการเปิดกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ ความร่วมมือกับสถานประกอบการ: รุ่นที่ 1
- รายชื่อสถานประกอบการ สายสลิลนวดเพื่อสุขภาพ, บริษัทมณีนาคา สปา แอนด์ บิ้วตี้ จำกัด, ร้าน วันวาริน สปา (Onevarin spa) - ระยะเวลาในการศึกษาในสถานประกอบการการดำเนินการ ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม – 31 สิงหาคม 2565 - ความคิดเห็นจากสถานประกอบการต่อคุณภาพบัณฑิตแต่ละรุ่น: ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะด้านการออกแบบธุรกิจสุขภาพ สามารถออกแบบกิจการธุรกิจสุขภาพเพื่อการท่องเที่ยวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิดสร้างสรรค์ในการนำวัตถุดิบและทรัพยากรที่แตกต่างของภูมิภาคตนมาปรับใช้ในการออกแบบธุรกิจเพื่อสุขภาพ - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากสถานประกอบการ: ผู้เข้าอบรมควรเสริมทักษะเฉพาะทางด้านการดูแลสุขภาพ เช่น การนวดไทย การนวดสปา การทำอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพเพื่อเพิ่มรายได้ในธุรกิจสุขภาพ และควรเพิ่มเติมทักษะด้านเทคโนโลยีด้านการออกแบบระบบออนไลน์ในการรับ-จอง ตอบคำถามผู้ที่ต้องการมาใช้บริการธุรกิจสุขภาพผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 43
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

การพัฒนาการท่องเที่ยวระดับโลกเพื่อการรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและกลุ่มเชิงสุขภาพ เป็น กลุ่มเป้าหมายหลักที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว เพื่อการยกระดับการท่องเที่ยวและคุณภาพการท่องเที่ยวในพื้นที่ต่างๆทั่วประเทศ ดังพื้นที่กลุ่มจังหวัดภาคอีสานก็เป็นกลุ่มจังหวัดที่มีศักยภาพด้านสมุนไพรและพืชท้องถิ่นที่มีสรรพคุณเป็นยา และสามารถนำมาเป็นวัตถุดิบการประกอบอาหาร ตลอดจนภาคอีสานยังมีวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ วัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่เหมาะกับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการฟื้นฟูการท่องเที่ยวเพื่อการยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยควบคู่มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ดังที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้กล่าวไว้ถึงความต้องการพัฒนาให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภาคอีสาน (Isan Wellness Tourism) เพื่อการปรับตัวเพื่อวิธีการท่องเที่ยวแบบ new normal ภายหลังวิกฤตโควิด-19 บุคลากรและผู้ประกอบการในท้องถิ่นมีความจำเป็นจะต้องได้รับความรู้และทักษะเพื่อการเป็นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ทั้งทักษะด้านสุขอนามัย การดูแลสุขภาพในรูปแบบต่างๆ โภชนาการ การจัดรูปแบบการท่องเที่ยว และการเป็นผู้ประกอบการ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
2. เพื่อผลิตบุคลากรให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านธุรกิจและการท่องเที่ยวในการออกแบบการท่องเที่ยวแบบเบ็ดเสร็จ
3. เพื่อผลิตบุคลากรให้มีความรู้ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 4. เพื่อผลิตบุคลากรให้นำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้ 5. เพื่อผลิตบุคลากรให้ใช้ภาษาอังกฤษในการปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ช่วงเวลาในการประชาสัมพันธ์ค่อนข้างสั้นทำให้ได้รับผู้เข้าอบรมมาจากพื้นที่ต่างภูมิภาค ดังนั้นทางผู้รับผิดชอบหลักสูตรจึงได้วางแผนการจัดการเรียนการสอนเป็นแบบผสมผสานทั้งแบบ onsite และแบบ online เพื่อให้เข้าถึงผู้เรียน กระบวนการในการดำเนินการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติต้องแบ่งออกเป็นสองพื้นที่เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับประโยชน์สูงสุด ทำให้การบริหารจัดการโครงการมีรายละเอียดในการดำเนินงานมากขึ้น

ระยะเวลาในการประกาศรับผู้สมัครน้อยไปเพราะต้องรีบดำเนินการส่งรายชื่อผู้เข้าอบรม

ควรขยายเวลาในการส่งราบฃยชื่อผู้เข้าอบรม


การออกแบบธุรกิจสุขภาพสำหรับการจัดการท่องเที่ยว (Wellness business designed for tourism) จังหวัด

รหัสโครงการ FN64/0069

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด