แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
“ พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0017 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0017 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรวม
- ธรรมชาติรอบตัว
- เทคนิคการสกัดสาร
- วิทยาการคำนวณ
- กิจกรรมปฐมนิเทศสัมมนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และศึกษาดูงาน
- การให้ความหมาย (คุณค่า) กับการเรียนรู้
- การแปรรูปสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการทางการตลาด
- การวางแผนทางการเงิน การลงทุน และการคิดผลประโยชน์ในอนาคต
- ความละเอียดในการรับรู้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ผ่านช่องทางการรับรู้ต่าง ๆ
- สารสกัดและความปลอดภัยทางอาหาร
- การลงทุนในหุ้น
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- กรณีศึกษาปรากฏการณ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
- ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
- การลงทุนในคริปโต
- การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติแบบ active learning
- ความปลอดภัยและการตรวจสอบสารปนเปื้อน
- นักลงทุนคริปโต
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- หลักที่ใช้ในการจัดจำแนกชนิดนกเบื้องต้น
- การสกัดน้ำมันหอมระเหย
- การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 1
- การเตรียมความพร้อมในการศึกษานกในภาคสนาม
- การสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่
- การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษานกในเมือง และสรุปบทเรียน
- การสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว
- การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “การเงินการลงทุน”
- การศึกษานกในพื้นที่ชุ่มน้ำ และสรุปบทเรียน
- การสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟส
- การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน”
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษานกในพื้นที่ป่า และสรุปบทเรียน
- การสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ
- การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 1
- หลักการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้นและโครงสร้างของใบพืช
- การสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่เสียงความถี่สูง
- การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของพืช : โครงสร้างของดอก
- การทดสอบพฤษเคมีเบื้องต้น
- การใช้โปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อและวิเคราะห์ข้อมูลหุ้น
- การศึกษาลักษณะพรรณไม้ระดับวงศ์ ภาคสนาม
- เทคนิคการตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟี
- การโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- รูปวิธานและการระบุพืช
- การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1
- การใช้โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น
- การระบุพืชจากตัวอย่างในภาคสนาม
- การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2
- โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- ออกแบบบทเรียนธรรมชาติที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ active learning
- การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ
- การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1
- ทดลองใช้บทเรียนธรรมชาติและสะท้อนผลเพื่อพัฒนา
- การประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์
- การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- กิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC และนำเสนอผลการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมปฐมนิเทศสัมมนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และศึกษาดูงาน
วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1.การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2.แนวปฏิบัติสำคัญของผู้เรียนในแต่ละชุดวิชา
3.การใช้ Canva ในการสร้างบทเรียนออนไลน์
4.การจัดทำสื่อวีดีโอ Production house
5.การทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ของผู้เรียน ในการจะเข้ามาเรียนรู้ร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนมีเครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. เกิดความอยากเรียนรู้จนจบหลักสูตร มีเป้าหมายการเรียนรู้ที่ชัดเจน
40
0
2. การแปรรูปสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการทางการตลาด
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนวทางการทำ product concept จากสารสกัด และการตลาด
2 กิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างสรรค์ product concept จากสารสกัดที่ได้จากพืช
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เรียนสามารถสร้าง Product concept จากสารสกัดที่จะเกิดขึ้นจากการเรียนในโมดูล
18
0
3. การให้ความหมาย (คุณค่า) กับการเรียนรู้
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. กิจกรรมแยกแยะความแตกต่างในการรับรู้แต่ละแบบ
2. การเรียนรู้ธรรมชาติโดยใช้กิจกรรมที่ส่งเสริมการรับรู้ที่ประกอบด้วยการให้ความหมายเชิงบวก
3. การสะท้อนผลจากการทำกิจกรรม
4. สรุปผลจากการทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะการรับรู้แบบบริสุทธิ์กับการรับรู้ที่ประกอบกับประสบการณ์เดิมออกจากกันได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายถึงผลดีของการให้ความหมายเชิงบวกต่อการเรียนรู้ได้
3. ผู้เข้าอบรมสามารถนำกิจกรรมส่งเสริมการให้ความหมายเชิงบวกไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ห้องเรียนของตนเองได้
12
0
4. การวางแผนทางการเงิน การลงทุน และการคิดผลประโยชน์ในอนาคต
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำให้เห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
2. วิธีการและปัจจัยในการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
3. การคำนวณผลตอบแทนแบบต่าง ๆ
4. ทำกิจกรรมการวางแผนและการจัดการความเสี่ยง
5. ประเมินความเสี่ยงของแต่ละบุคคล
6. การแปลความของผลการประเมินความเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก และเห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
2. เข้าใจวิธีการและปัจจัยในการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
3. สามารถคำนวณผลตอบแทนแบบต่าง ๆ อย่างง่าย
4. สามารถประเมินความเสี่ยงของตนเองอย่างคร่าว ๆ ได้
20
0
5. ความละเอียดในการรับรู้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ผ่านช่องทางการรับรู้ต่าง ๆ
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มุ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพในการสังเกต
2. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติผ่านช่องทางการรับรู้ที่หลากหลาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถสังเกตลักษณะของธรรมชาติรอบตัวได้ละเอียดยิ่งขึ้น
2. ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับช่องทางการรับรู้ได้
12
0
6. สารสกัดและความปลอดภัยทางอาหาร
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ทราบกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารและการใช้สารสกัดที่เหมาะสมตามที่กฎหมายกำหนด
2 ทราบวิธีสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้เลือกพืชที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ
3. กิจกรรมกลุ่มเลือกพืชที่ตนเองสนใจและสอดคล้องกับ product conceptที่วางไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
ผู้เรียนสามารถเลือกพืชที่ตนเองสนใจเพื่อใช้ในการเรียนตลอดโมดูลซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดและอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์
18
0
7. การลงทุนในหุ้น
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำการลงทุนในหุ้นขั้นต้น
2. ปัจจัยสำหรับการลงทุนในหุ้น
3. การพิจารณาแนวโน้มของหุ้น
4. ความเสี่ยงของการลงทุนในหุ้น
5. การวิเคราะห์ผลตอบแทนของหุ้น
6. จำลองการซื้อขายหุ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักและเข้าใจการลงทุนและปัจจัยของหุ้นเบื้องต้น
2. สามารถดูแนวโน้มของหุ้นและเลือกลงทุนในหุ้นที่สามารถรับได้
3. สามารถวิเคราะห์ผลตอบแทนสำหรับการลงทุนให้หุ้นของตนเองได้อย่างคร่าว ๆ
4. สามารถซื้อขายหุ้นด้วยตนเอง
20
0
8. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
9. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านการสกัดสาร
15
0
10. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- หัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
11. กรณีศึกษาปรากฏการณ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ความรู้พื้นฐานของระบบธรรมชาติ จากการบรรยายในห้องเรียน
2. การเรียนรู้พื้นฐานการทำงานของระบบธรรมชาตินอกห้องเรียน ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายการทำงานของสิ่งมีชีวิตที่พบเห็นในพื้นที่ธรรมชาติได้
12
0
12. ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายข้อควรระวังและความปลอดภัยในปฏิบัติการเคมี การใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมี
2 กิจกรรมกลุ่มทบทวนและฝึกปฏิบัติทักษะในการใช้อุปกรณ์-เครื่องแก้ว และสารเคมีได้อย่างถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
ผู้เรียนสามารถใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมีได้อย่างถูกต้อง
18
0
13. การลงทุนในคริปโต
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำ
- สินทรัพย์ดิจิตอล (Cryptocurrency)
- การทำงานของ Blockchain
- การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
- คำศัพท์ที่ควรรู้ในการลงทุน
2. ปัจจัยพื้นฐานของการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
3. ความเสี่ยงของการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
4. การเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอลต่าง ๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักและเข้าใจในสินทรัพย์ดิจิตอล
2. สามารถบอกความเสี่ยงเบื้องต้นสำหรับการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
3. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอลเบื้องต้น
20
0
14. การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติแบบ active learning
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกปฏิบัติการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning
2. ทดลองใช้กระบวนการเรียนรู้
3. สะท้อนผลการใช้กระบวนการเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning
2. ผู้เข้าอบรมรับทราบข้อดีและจุดที่ควรพัฒนาของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านการทดลองใช้จริง
12
0
15. ความปลอดภัยและการตรวจสอบสารปนเปื้อน
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายวิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุด test kit อย่างง่ายตามหลักการของ thin layer chromatography
2.กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจสอบสารปนเปื้อนจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1.ทราบขั้นตอนการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้
2. สามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
16. นักลงทุนคริปโต
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ตัวอย่างการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
2. จำลองการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล
2. สามารถซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอลในตลาดการลงทุน
20
0
17. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกกลุ่มเป้าหมายและการกำหนดวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
18. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร
15
0
19. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
20. หลักที่ใช้ในการจัดจำแนกชนิดนกเบื้องต้น
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. หลักอนุกรมวิธานและลักษณะที่ใช้ในการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะนกออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของนกได้
12
0
21. การสกัดน้ำมันหอมระเหย
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
18
0
22. การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 1
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged
2. ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged สำหรับวิทยาการคำนวณ
3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง
ทายใจตัวเลข
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักและประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged
2. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
20
0
23. การเตรียมความพร้อมในการศึกษานกในภาคสนาม
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. หลักในการจดบันทึกลักษณะที่จำเป็นสำหรับการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning
2. หลักในการระบุชื่อชนิดของนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning
3. การใช้อุปกรณ์ในการศึกษานกภาคสนาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกโดยใช้หนังสือคู่มือได้
3. ผู้เข้าอบรมสามารถใช้อุปกรณ์ในการศึกษานกภาคสนามได้
12
0
24. การสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้น้ำมัน 3 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่จากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของน้ำมันที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
25. การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง
หุ่นยนต์ของเรา
2. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ
วิทยาการคำนวณ
3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ กำหนดการเชิงเส้น
4. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ
กราฟของฟังก์ชัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
2. สามารถนำกิจกรรมแบบ Unplugged ไปเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน
20
0
26. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
27. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร
15
0
28. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
29. การศึกษานกในเมือง และสรุปบทเรียน
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในเมือง (ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกเมืองได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกเมืองที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
12
0
30. การสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้ตัวทำละลายเดี่ยว 4 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายเดี่ยวจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
31. การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “การเงินการลงทุน”
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel
2. การจัดเรียงข้อมูลสำหรับการการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณทางการเงินการลงทุน
3. การเลือกให้ฟังก์ชันให้ถูกต้องและเหมาะสม
4. วิธีการใช้สูตรและการเลือกข้อมูลในการคำนวณ
5. การตีความค่าต่าง ๆ ที่คำนวณได้
6. ฝึกปฏิบัติการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณค่าทางด้านการเงินการลงทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel
2. สามารถเลือกให้ฟังก์ชันและเลือกข้อมูลในการคำนวณได้ถูกต้องและเหมาะสม
- สามารถตีความค่าที่ได้จากการใช้ฟังก์ชันใน Microsoft Excel
- สามารถนำ Microsoft Excel ไปสร้างบทเรียนเรื่อง การเงินการลงทุน
20
0
32. การศึกษานกในพื้นที่ชุ่มน้ำ และสรุปบทเรียน
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ชุ่มน้ำ (พื้นที่ชุ่มน้ำวังบัวแดง ต.ปะโค อ.เมือง จ.หนองคาย)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ชุ่มน้ำได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ชุ่มน้ำที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
12
0
33. การสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟส
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสโดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสเปรียบเทียบกับการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายสองเฟสจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบผลการสกัดด้วยตัวทำละลายเฟสเดียวกับตัวทำละลายสองเฟสและเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
34. การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน”
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้าน
กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน ใน Microsoft Excel
2. การกรอกข้อมูลใน Microsoft Excel เพื่อใช้ในการคำนวณ
3. การเลือกข้อมูลตามเงื่อนไขต่าง ๆ ให้ถูกต้องและเหมาะสม เช่น ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่ามากกว่าหรือเท่ากับ
4. การอธิบานผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ
5. ฝึกปฏิบัติการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณค่าทางด้านกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชันใน Microsoft Excel
2. สามารถเลือกให้เลือกข้อมูลและกำหนดเงื่อนไขในการคำนวณได้ถูกต้องและเหมาะสม
3. สามารถประยุกต์ใช้ Microsoft Excel ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน
4. สามารถตีความค่าที่ได้จากการใช้ฟังก์ชันใน Microsoft Excel
5. สามารถนำ Microsoft Excel ไปสร้างบทเรียน ด้านกำหนดการเชิงเส้น และกราฟของฟังก์ชัน
20
0
35. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
36. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร
15
0
37. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือที่ใช้มีความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
38. การศึกษานกในพื้นที่ป่า และสรุปบทเรียน
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ป่า (พื้นที่ป่าภูพระบาท อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ป่าได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ป่าที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
12
0
39. การสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟโดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
40. การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 1
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายภาพรวมและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI
2. แนะนำเมนูต่าง ๆ ในโปรแกรม Power BI
3. วิธีการโหลดข้อมูล สำหรับใช้โปรแกรม Power BI
4. การจัดการข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI
5. ฝึกปฏิบัติการจัดการข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมใช้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก เข้าใจหลักการและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI
2. สามารถโหลดข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกมาใช้สำหรับโปรแกรม Power BI
3. สามารถจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ เพื่อพร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI
20
0
41. หลักการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้นและโครงสร้างของใบพืช
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. เรียนรู้หลักการในการจัดจำแนกพืช โดยการฝึกปฏิบัติผ่านกิจกรรม การจำแนกใบไม้
2. สรุปหลักการในการจำแนกพืช และลักษณะที่ใช้ในการจัดจำแนก
3. บรรยายหัวข้อ โครงสร้างของใบพืช และแนะนำแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
4. การศึกษาลักษณะของใบพืชภาคสนาม (พื้นที่ป่าในวิทยาเขตหนองคาย)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการในการจัดจำแนกพืช และสามารถกำหนดเกณฑ์ในการจำแนกได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถบอกโครงสร้างของใบพืชได้
3. ผู้เข้าอบรมทราบแหล่งศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองในภายหลัง
4. ผู้เข้าอบรมสามารถบอกความแตกต่างของใบพืชแต่ละชนิดได้
12
0
42. การสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่เสียงความถี่สูง
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงโดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูง และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
43. การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 2
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2. การเลือกข้อมูลในการในการนำเสนอด้วยโปรแกรม Power BI
3. ฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และการนำเสนอด้วยโปรแกรม Power BI จากกรณีศึกษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
2. สามารถใช้โปรแกรม Power BI ในการนำเสนอข้อมูล
3. สามารถนำโปรแกรม Power BI ไปประยุกต์กับงานด้านอื่น ๆ ได้
20
0
44. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
45. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสาร
15
0
46. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- บทเรียน/วิธีการดำเนินโครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
47. การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของพืช : โครงสร้างของดอก
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกปฏิบัติการศึกษาโครงสร้างของดอกผ่านกิจกรรม ชวนชมดอกไม้
2. บรรยายหัวข้อ โครงสร้างของดอก และแนะนำแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
3. ฝึกปฏิบัติการจำแนกประเภทของดอกและศึกษาลักษณะดอกของพืชภาคสนาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการศึกษาโครงสร้างของดอกและบอกความแตกต่างของดอกของพืชแต่ละชนิดที่นำมาศึกษาได้
2. ผู้เข้าอบรมบอกโครงสร้างพื้นฐานของดอก ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียได้
3. ผู้เข้าอบรมบอกความแตกต่างระหว่างดอกเดี่ยวและดอกช่อได้
4. ผู้เข้าอบรมสามารถหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองได้
12
0
48. การทดสอบพฤษเคมีเบื้องต้น
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายวิธีการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุด test kit อย่างง่าย
2.กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้
2. ผู้เรียนสามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
49. การใช้โปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อและวิเคราะห์ข้อมูลหุ้น
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น
2. การโปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อข้อมูลหุ้นจากแหล่งข้อมูลภายนอก
3. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในวิเคราะห์หุ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น
2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์หุ้น เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการตัดสินใจ
20
0
50. การศึกษาลักษณะพรรณไม้ระดับวงศ์ ภาคสนาม
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ศึกษาลักษณะประจำวงศ์ของพืช ในรูปแบบบรรยายพร้อมปฏิบัติการในภาคสนาม
2. ปฏิบัติการศึกษาลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพืชที่จัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมได้ใช้ความละเอียดในการสังเกตลักษณะที่แตกต่างกันของพืชแต่ละกลุ่ม
2. ผู้เข้าอบรมบอกลักษณะสำคัญของพืชวงศ์ที่พบบ่อย ได้แก่ วงศ์ทานตะวัน วงศ์ถั่ว และวงศ์ยางได้
12
0
51. เทคนิคการตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟี
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายขั้นตอนการเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสารสำคัญ
2.บรรยายขั้นตอนการแยกสารด้วยคอลัมน์ที่เตรียมได้
3. บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบสารสำคัญด้วยโครมาโทกราฟี แบบ thin layer chromatography
4. กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสาร และการแยกสารสำคัญที่ได้จากการสกัดพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ รวมทั้งตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนและลงมือเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสาร และการแยกสารสำคัญที่ได้จากการสกัดพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
2 ผู้เรียนทราบขั้นตอนและลงมือตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography
3. ผู้เรียนสามารถอธิบายและเปรียบเทียบผลการตรวจสอบสารสำคัญด้วย thin layer chromatography
18
0
52. การโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python
2. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการสร้างชุดข้อมูลแบบต่าง ๆ และวิธีการดึงข้อมูลจากแหล่งอื่น ๆ เช่น EXCEL
3. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น เช่น การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานแบบต่าง ๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python
2. สามารถใช้โปรแกรม Python ในการสร้างชุดข้อมูล และสามารถดึงข้อมูลจากแหล่างอื่น ๆ ได้
3. สามารถใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น
4. นำโปรแกรม Python ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการทำโครงงาน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียน
20
0
53. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัว
11
0
54. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสาร
15
0
55. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะนำไปใช้ในบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณ
17
0
56. รูปวิธานและการระบุพืช
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกทักษะการระบุพืชอย่างง่ายจากฐานข้อมูลและเอกสารวิชาการ
2. ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง โครงสร้างของรูปวิธาน
3. ฝึกปฏิบัติการระบุพืชโดยใช้รูปวิธานระบุพืชระดับวงศ์ และสกุล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพืชที่สนใจได้ และทราบถึงปัญหาในการระบุพืช
2. ผู้เข้าอบรมสามารถใช้รูปวิธานได้อย่างถูกต้อง
3. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุพืชในระดับวงศ์โดยใช้รูปวิธานได้
12
0
57. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบโลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy โดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติเตรียมตัวอย่างพืชและสารสกัดเพื่อใช้ตรวจสอบปริมาณโลหะหนัก และลงมือปฏิบัติได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการเตรียมตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิเคราะห์โลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy
2. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณโลหะหนักจากพืชตัวอย่างและพืชที่ตนเองสนใจได้
18
0
58. การใช้โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ
2. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น เช่น สร้างกราฟของระบบสมการ หาจุดตัดของเสมการ 2 สมการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ
2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น
20
0
59. การระบุพืชจากตัวอย่างในภาคสนาม
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกปฏิบัติการระบุพืชจากตัวอย่างพืชที่สนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุพืชที่สนใจได้ถูกต้อง
12
0
60. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญได้แก่ สารประกอบฟีนอลและฟลาโวนอยด์ในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญจากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy
2. ผู้เรียนสามารถคำนวณผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณสารสำคัญจากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจ
18
0
61. โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ เช่น หาสร้างกราฟแบบต่าง ๆ ลักษณะของกราฟเมื่อค่าต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. เข้าใจเรื่องฟังก์ชันของกราฟมากขึ้น จากการใช้โปรแกรม Scilab
2. นำโปรแกรม Scilab ไปสร้างบทเรียนเรื่อง ฟังก์ชันของกราฟ
20
0
62. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง
11
0
63. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง
15
0
64. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง”
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง
17
0
65. ออกแบบบทเรียนธรรมชาติที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ active learning
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ผู้เข้าอบรมวางแผนบทเรียนที่สอดคล้องกับบริบทของตนเอง
2. ผู้เข้าอบรมนำเสนอแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
3. ผู้เข้าอบรมและวิทยากรร่วมกันพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้และให้ข้อเสนอแนะ
4. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนบทเรียนธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง
2. ได้รับฟังข้อเสนอแนะและนำไปปรับแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
12
0
66. การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ
2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy
2. ผู้เรียนสามารถคำนวณผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH จากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจ
18
0
67. การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. โครงสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปในรูปแบบออนไลน์ของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM)
2. การใช้งานเบื้องต้นโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักและเข้าใจการทำงานของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM)
2. สามารถใช้งานโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) เบื้องต้นได้
20
0
68. ทดลองใช้บทเรียนธรรมชาติและสะท้อนผลเพื่อพัฒนา
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง
2. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเองได้
2. ผู้เข้าอบรมได้รับฟังเสียงสะท้อนการจัดกิจกรรมจากวิทยากรและผู้ร่วมอบรมท่านอื่น ๆ และสามารถนำไปปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ครั้งถัดไปให้ดีขึ้นได้
12
0
69. การประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายขั้นตอนการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เจลล้างหน้า แฮร์โทนิก และเจลลี่เพื่อสุขภาพ
2. กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ ด้วยสารสกัดที่ได้จากการเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบขั้นตอนการเตรียมผลิตภัณฑ์
2. ผลิตภัณฑ์จากสารสกัด ได้แก่ เจลล้างหน้าผสมสารสกัดดาวเรืองและสารสกัดข้าวหอมมะลิดำ แฮร์โทนิกผสมสารสกัดจากใบหมี่และอัญชัน และเจลลี่เพื่อสุขภาพผสมสารสกัดจากดาวเรืองและกระชายขาว
18
0
70. การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. การประยุกต์ใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม เช่น การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. สามารถใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้ได้
2. นำโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการตัดเกรดนักเรียน การทำโครงงาน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียน
20
0
71. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
15
0
72. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
11
0
73. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
17
0
74. กิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC และนำเสนอผลการเรียนรู้
วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้และนำเสนอแผนของแต่ละคนในแต่ละโมดูล
- ถ่ายทอดสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ (นักเรียน/นักท่องเที่ยว/เพื่อนร่วมงาน)
- ประชุมชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ร่วมกับสถานประกอบการ
- สะท้อนผลการเรียนรู้ (Self Reflection) ของผู้เข้าอบรมภายในโมดูล และระหว่างโมดูล
- ศึกษาดูงานโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ต่างสถาบัน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การออกแบบบทเรียนที่เน้นการลงมือปฏิบัติจริง
- สรุปผลการประชุมชุมนุมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากสถานประกอบการต่อคุณภาพบัณฑิต
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0017
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
“ พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0017 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ
บทคัดย่อ
โครงการ " พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN64/0017 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรวม
- ธรรมชาติรอบตัว
- เทคนิคการสกัดสาร
- วิทยาการคำนวณ
- กิจกรรมปฐมนิเทศสัมมนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และศึกษาดูงาน
- การให้ความหมาย (คุณค่า) กับการเรียนรู้
- การแปรรูปสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการทางการตลาด
- การวางแผนทางการเงิน การลงทุน และการคิดผลประโยชน์ในอนาคต
- ความละเอียดในการรับรู้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ผ่านช่องทางการรับรู้ต่าง ๆ
- สารสกัดและความปลอดภัยทางอาหาร
- การลงทุนในหุ้น
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- กรณีศึกษาปรากฏการณ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
- ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี
- การลงทุนในคริปโต
- การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติแบบ active learning
- ความปลอดภัยและการตรวจสอบสารปนเปื้อน
- นักลงทุนคริปโต
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- หลักที่ใช้ในการจัดจำแนกชนิดนกเบื้องต้น
- การสกัดน้ำมันหอมระเหย
- การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 1
- การเตรียมความพร้อมในการศึกษานกในภาคสนาม
- การสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่
- การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษานกในเมือง และสรุปบทเรียน
- การสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว
- การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “การเงินการลงทุน”
- การศึกษานกในพื้นที่ชุ่มน้ำ และสรุปบทเรียน
- การสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟส
- การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน”
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษานกในพื้นที่ป่า และสรุปบทเรียน
- การสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ
- การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 1
- หลักการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้นและโครงสร้างของใบพืช
- การสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่เสียงความถี่สูง
- การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของพืช : โครงสร้างของดอก
- การทดสอบพฤษเคมีเบื้องต้น
- การใช้โปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อและวิเคราะห์ข้อมูลหุ้น
- การศึกษาลักษณะพรรณไม้ระดับวงศ์ ภาคสนาม
- เทคนิคการตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟี
- การโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- รูปวิธานและการระบุพืช
- การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1
- การใช้โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น
- การระบุพืชจากตัวอย่างในภาคสนาม
- การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2
- โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2
- ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3
- ออกแบบบทเรียนธรรมชาติที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ active learning
- การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ
- การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1
- ทดลองใช้บทเรียนธรรมชาติและสะท้อนผลเพื่อพัฒนา
- การประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์
- การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
- กิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC และนำเสนอผลการเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมปฐมนิเทศสัมมนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และศึกษาดูงาน |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1.การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.แนวปฏิบัติสำคัญของผู้เรียนในแต่ละชุดวิชา 3.การใช้ Canva ในการสร้างบทเรียนออนไลน์ 4.การจัดทำสื่อวีดีโอ Production house 5.การทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อละลายพฤติกรรม สร้างความสัมพันธ์ของผู้เรียน ในการจะเข้ามาเรียนรู้ร่วมกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนมีเครื่องมือในการสร้างสื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2. เกิดความอยากเรียนรู้จนจบหลักสูตร มีเป้าหมายการเรียนรู้ที่ชัดเจน
|
40 | 0 |
2. การแปรรูปสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อตอบโจทย์ความต้องการทางการตลาด |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนวทางการทำ product concept จากสารสกัด และการตลาด 2 กิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างสรรค์ product concept จากสารสกัดที่ได้จากพืช ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เรียนสามารถสร้าง Product concept จากสารสกัดที่จะเกิดขึ้นจากการเรียนในโมดูล
|
18 | 0 |
3. การให้ความหมาย (คุณค่า) กับการเรียนรู้ |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. กิจกรรมแยกแยะความแตกต่างในการรับรู้แต่ละแบบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะการรับรู้แบบบริสุทธิ์กับการรับรู้ที่ประกอบกับประสบการณ์เดิมออกจากกันได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายถึงผลดีของการให้ความหมายเชิงบวกต่อการเรียนรู้ได้ 3. ผู้เข้าอบรมสามารถนำกิจกรรมส่งเสริมการให้ความหมายเชิงบวกไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ห้องเรียนของตนเองได้
|
12 | 0 |
4. การวางแผนทางการเงิน การลงทุน และการคิดผลประโยชน์ในอนาคต |
||
วันที่ 2 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำให้เห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน 2. วิธีการและปัจจัยในการวางแผนทางการเงิน การลงทุน 3. การคำนวณผลตอบแทนแบบต่าง ๆ 4. ทำกิจกรรมการวางแผนและการจัดการความเสี่ยง 5. ประเมินความเสี่ยงของแต่ละบุคคล 6. การแปลความของผลการประเมินความเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก และเห็นถึงความสำคัญของการวางแผนทางการเงิน การลงทุน
|
20 | 0 |
5. ความละเอียดในการรับรู้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ และการเรียนรู้ผ่านช่องทางการรับรู้ต่าง ๆ |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มุ่งเน้นการเพิ่มศักยภาพในการสังเกต 2. กิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติผ่านช่องทางการรับรู้ที่หลากหลาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถสังเกตลักษณะของธรรมชาติรอบตัวได้ละเอียดยิ่งขึ้น 2. ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับช่องทางการรับรู้ได้
|
12 | 0 |
6. สารสกัดและความปลอดภัยทางอาหาร |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ทราบกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในอาหารและการใช้สารสกัดที่เหมาะสมตามที่กฎหมายกำหนด 2 ทราบวิธีสืบค้นข้อมูลเพื่อใช้เลือกพืชที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ 3. กิจกรรมกลุ่มเลือกพืชที่ตนเองสนใจและสอดคล้องกับ product conceptที่วางไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนสามารถเลือกพืชที่ตนเองสนใจเพื่อใช้ในการเรียนตลอดโมดูลซึ่งเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดและอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์
|
18 | 0 |
7. การลงทุนในหุ้น |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำการลงทุนในหุ้นขั้นต้น 2. ปัจจัยสำหรับการลงทุนในหุ้น 3. การพิจารณาแนวโน้มของหุ้น 4. ความเสี่ยงของการลงทุนในหุ้น 5. การวิเคราะห์ผลตอบแทนของหุ้น 6. จำลองการซื้อขายหุ้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจการลงทุนและปัจจัยของหุ้นเบื้องต้น 2. สามารถดูแนวโน้มของหุ้นและเลือกลงทุนในหุ้นที่สามารถรับได้ 3. สามารถวิเคราะห์ผลตอบแทนสำหรับการลงทุนให้หุ้นของตนเองได้อย่างคร่าว ๆ 4. สามารถซื้อขายหุ้นด้วยตนเอง
|
20 | 0 |
8. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
9. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
10. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
11. กรณีศึกษาปรากฏการณ์ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ความรู้พื้นฐานของระบบธรรมชาติ จากการบรรยายในห้องเรียน 2. การเรียนรู้พื้นฐานการทำงานของระบบธรรมชาตินอกห้องเรียน ในพื้นที่ป่าธรรมชาติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถอธิบายการทำงานของสิ่งมีชีวิตที่พบเห็นในพื้นที่ธรรมชาติได้
|
12 | 0 |
12. ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. บรรยายข้อควรระวังและความปลอดภัยในปฏิบัติการเคมี การใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมี 2 กิจกรรมกลุ่มทบทวนและฝึกปฏิบัติทักษะในการใช้อุปกรณ์-เครื่องแก้ว และสารเคมีได้อย่างถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนสามารถใช้อุปกรณ์เครื่องแก้ว และการจัดการสารเคมีได้อย่างถูกต้อง
|
18 | 0 |
13. การลงทุนในคริปโต |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำ
- สินทรัพย์ดิจิตอล (Cryptocurrency)
- การทำงานของ Blockchain
- การลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. สามารถบอกความเสี่ยงเบื้องต้นสำหรับการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 3. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอลเบื้องต้น
|
20 | 0 |
14. การจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องธรรมชาติแบบ active learning |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกปฏิบัติการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning 2. ทดลองใช้กระบวนการเรียนรู้ 3. สะท้อนผลการใช้กระบวนการเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning
|
12 | 0 |
15. ความปลอดภัยและการตรวจสอบสารปนเปื้อน |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายวิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุด test kit อย่างง่ายตามหลักการของ thin layer chromatography ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1.ทราบขั้นตอนการตรวจสอบสารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้ 2. สามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
16. นักลงทุนคริปโต |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ตัวอย่างการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. จำลองการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถเลือกลงทุนในสินทรัพย์ดิจิตอล 2. สามารถซื้อขายสินทรัพย์ดิจิตอลในตลาดการลงทุน
|
20 | 0 |
17. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกกลุ่มเป้าหมายและการกำหนดวัตถุประสงค์ของหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
18. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
19. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกและการกำหนดหัวข้อโครงงาน/หัวข้อบทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
20. หลักที่ใช้ในการจัดจำแนกชนิดนกเบื้องต้น |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. หลักอนุกรมวิธานและลักษณะที่ใช้ในการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถแยกแยะนกออกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของนกได้
|
12 | 0 |
21. การสกัดน้ำมันหอมระเหย |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดน้ำมันหอมระเหยด้วยวิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้
|
18 | 0 |
22. การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 1 |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged
2. ประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged สำหรับวิทยาการคำนวณ
3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและประโยชน์ของการจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้
|
20 | 0 |
23. การเตรียมความพร้อมในการศึกษานกในภาคสนาม |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. หลักในการจดบันทึกลักษณะที่จำเป็นสำหรับการจำแนกชนิดนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning 2. หลักในการระบุชื่อชนิดของนก ผ่านกระบวนการแบบ active learning 3. การใช้อุปกรณ์ในการศึกษานกภาคสนาม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกได้
|
12 | 0 |
24. การสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่ |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่โดยใช้น้ำมัน 3 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดเย็นด้วยวิธีการแช่จากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของน้ำมันที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
25. การจัดกิจกรรมเรียนแบบ Unplugged 2 |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged เรื่อง หุ่นยนต์ของเรา 2. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ วิทยาการคำนวณ 3. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ กำหนดการเชิงเส้น 4. กิจกรรมกลุ่ม Unplugged สำหรับ กราฟของฟังก์ชัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถประยุกต์ใช้กิจกรรมแบบ Unplugged ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ 2. สามารถนำกิจกรรมแบบ Unplugged ไปเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน
|
20 | 0 |
26. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
27. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
28. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การเลือกเครื่องมือและเทคนิคการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
29. การศึกษานกในเมือง และสรุปบทเรียน |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในเมือง (ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกเมืองได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกเมืองที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
|
12 | 0 |
30. การสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยวโดยใช้ตัวทำละลายเดี่ยว 4 ชนิด จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายเดี่ยวจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบและเลือกชนิดของตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
31. การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “การเงินการลงทุน” |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. แนะนำฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel
2. การจัดเรียงข้อมูลสำหรับการการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณทางการเงินการลงทุน
3. การเลือกให้ฟังก์ชันให้ถูกต้องและเหมาะสม
4. วิธีการใช้สูตรและการเลือกข้อมูลในการคำนวณ
5. การตีความค่าต่าง ๆ ที่คำนวณได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางการเงินใน Microsoft Excel
|
20 | 0 |
32. การศึกษานกในพื้นที่ชุ่มน้ำ และสรุปบทเรียน |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ชุ่มน้ำ (พื้นที่ชุ่มน้ำวังบัวแดง ต.ปะโค อ.เมือง จ.หนองคาย) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ชุ่มน้ำได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ชุ่มน้ำที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
|
12 | 0 |
33. การสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟส |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสเปรียบเทียบกับการสกัดด้วยตัวทำละลายเดี่ยว จากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญด้วยด้วยตัวทำละลายสองเฟสจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบผลการสกัดด้วยตัวทำละลายเฟสเดียวกับตัวทำละลายสองเฟสและเลือกตัวทำละลายที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
34. การใช้ Microsoft Excel ในหัวข้อ “กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน” |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. แนะนำเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาด้าน กำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน ใน Microsoft Excel 2. การกรอกข้อมูลใน Microsoft Excel เพื่อใช้ในการคำนวณ 3. การเลือกข้อมูลตามเงื่อนไขต่าง ๆ ให้ถูกต้องและเหมาะสม เช่น ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 4. การอธิบานผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ 5. ฝึกปฏิบัติการใช้ Microsoft Excel ในการคำนวณค่าทางด้านกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จัก เข้าใจ และวิธีการใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ทางกำหนดการเชิงเส้นและกราฟของฟังก์ชันใน Microsoft Excel
|
20 | 0 |
35. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
36. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
37. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวิเคราะห์เครื่องมือที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
38. การศึกษานกในพื้นที่ป่า และสรุปบทเรียน |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการบันทึกลักษณะสำคัญ และจำแนกชนิดนกในภาคสนาม ในหัวข้อนกในพื้นที่ป่า (พื้นที่ป่าภูพระบาท อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจดบันทึกลักษณะสำคัญต่อการจำแนกชนิดนกพื้นที่ป่าได้ 2. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุชื่อชนิดนกในพื้นที่ป่าที่พบบ่อยโดยใช้หนังสือคู่มือได้
|
12 | 0 |
39. การสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคไมโครเวฟ และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
40. การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 1 |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายภาพรวมและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI
2. แนะนำเมนูต่าง ๆ ในโปรแกรม Power BI
3. วิธีการโหลดข้อมูล สำหรับใช้โปรแกรม Power BI
4. การจัดการข้อมูลต่าง ๆ ให้พร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จัก เข้าใจหลักการและประโยชน์ของโปรแกรม Power BI 2. สามารถโหลดข้อมูลจากแหล่งข้อมูลภายนอกมาใช้สำหรับโปรแกรม Power BI 3. สามารถจัดการกับข้อมูลต่าง ๆ เพื่อพร้อมใช้งานสำหรับโปรแกรม Power BI
|
20 | 0 |
41. หลักการอนุกรมวิธานพืชเบื้องต้นและโครงสร้างของใบพืช |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. เรียนรู้หลักการในการจัดจำแนกพืช โดยการฝึกปฏิบัติผ่านกิจกรรม การจำแนกใบไม้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมเข้าใจหลักการในการจัดจำแนกพืช และสามารถกำหนดเกณฑ์ในการจำแนกได้
2. ผู้เข้าอบรมสามารถบอกโครงสร้างของใบพืชได้
|
12 | 0 |
42. การสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่เสียงความถี่สูง |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการสกัดด้วยตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงโดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการสกัดตัวทำละลายสองเฟสร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจที่สภาวะการสกัดที่แตกต่างกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1 ผู้เรียนทราบหลักการและสามารถลงมือสกัดสารสำคัญร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูงจากพืชที่กำหนดและพืชที่กลุ่มสนใจได้ 2 ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบสภาวะการสกัดร่วมกับเทคนิคคลื่นเสียงความถี่สูง และเลือกสภาวะที่เหมาะสมกับพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
43. การใช้โปรแกรม Power BI ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล 2 |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Power BI ในวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
|
20 | 0 |
44. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
45. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
46. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การออกแบบบทเรียนและวิธีการในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
47. การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของพืช : โครงสร้างของดอก |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกปฏิบัติการศึกษาโครงสร้างของดอกผ่านกิจกรรม ชวนชมดอกไม้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการศึกษาโครงสร้างของดอกและบอกความแตกต่างของดอกของพืชแต่ละชนิดที่นำมาศึกษาได้
2. ผู้เข้าอบรมบอกโครงสร้างพื้นฐานของดอก ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมียได้
3. ผู้เข้าอบรมบอกความแตกต่างระหว่างดอกเดี่ยวและดอกช่อได้
|
12 | 0 |
48. การทดสอบพฤษเคมีเบื้องต้น |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายวิธีการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุด test kit อย่างง่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนการตรวจสอบพฤษเคมีเบื้องต้นด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายและลงมือปฏิบัติได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายผลการตรวจสอบจากพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
49. การใช้โปรแกรม Python ในการเชื่อมต่อและวิเคราะห์ข้อมูลหุ้น |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Python เบื้องต้น 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Python ในการวิเคราะห์หุ้น เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการตัดสินใจ
|
20 | 0 |
50. การศึกษาลักษณะพรรณไม้ระดับวงศ์ ภาคสนาม |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาลักษณะประจำวงศ์ของพืช ในรูปแบบบรรยายพร้อมปฏิบัติการในภาคสนาม 2. ปฏิบัติการศึกษาลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพืชที่จัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมได้ใช้ความละเอียดในการสังเกตลักษณะที่แตกต่างกันของพืชแต่ละกลุ่ม
|
12 | 0 |
51. เทคนิคการตรวจสอบด้วยโครมาโทกราฟี |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1 บรรยายขั้นตอนการเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสารสำคัญ
2.บรรยายขั้นตอนการแยกสารด้วยคอลัมน์ที่เตรียมได้
3. บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบสารสำคัญด้วยโครมาโทกราฟี แบบ thin layer chromatography ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1.ผู้เรียนทราบขั้นตอนและลงมือเตรียมคอลัมน์เพื่อใช้แยกสาร และการแยกสารสำคัญที่ได้จากการสกัดพืชที่กำหนด และพืชที่แต่ละกลุ่มสนใจ
|
18 | 0 |
52. การโปรแกรม Python ในการวิเคราะห์ทางสถิติเบื้องต้น |
||
วันที่ 28 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. รู้จักประเภทของข้อมูลในโปรแกรม Python
|
20 | 0 |
53. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านธรรมชาติรอบตัว” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
54. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านเทคนิคการสกัดสาร” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
55. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การสร้างเครื่องมือและการจัดเตรียมอุปกรณ์ตามบทเรียนและวิธีการที่ออกแบบไว้ในการจัดทำโครงงาน/บทเรียนทางด้านวิทยาการคำนวณ” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 0 |
56. รูปวิธานและการระบุพืช |
||
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. ฝึกทักษะการระบุพืชอย่างง่ายจากฐานข้อมูลและเอกสารวิชาการ
2. ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง โครงสร้างของรูปวิธาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เข้าอบรมสามารถหาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับพืชที่สนใจได้ และทราบถึงปัญหาในการระบุพืช
2. ผู้เข้าอบรมสามารถใช้รูปวิธานได้อย่างถูกต้อง
|
12 | 0 |
57. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1 |
||
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการตรวจสอบโลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติเตรียมตัวอย่างพืชและสารสกัดเพื่อใช้ตรวจสอบปริมาณโลหะหนัก และลงมือปฏิบัติได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการเตรียมตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิเคราะห์โลหะหนักด้วยเครื่อง atomic absorption spectroscopy 2. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบปริมาณโลหะหนักจากพืชตัวอย่างและพืชที่ตนเองสนใจได้
|
18 | 0 |
58. การใช้โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น |
||
วันที่ 3 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้
1. บรรยายหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. เข้าใจหลักการการใช้โปรแกรม Scilab สำหรับกิจกรรมด้านวิทยาการคำนวณ 2. สามารถประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านกำหนดการเชิงเส้น
|
20 | 0 |
59. การระบุพืชจากตัวอย่างในภาคสนาม |
||
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกปฏิบัติการระบุพืชจากตัวอย่างพืชที่สนใจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถระบุพืชที่สนใจได้ถูกต้อง
|
12 | 0 |
60. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 2 |
||
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญได้แก่ สารประกอบฟีนอลและฟลาโวนอยด์ในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญจากสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญในพืชด้วยเครื่อง spectroscopy
|
18 | 0 |
61. โปรแกรม Scilab สำหรับปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ |
||
วันที่ 4 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้โปรแกรม Scilab ในการแก้ปัญหาด้านฟังก์ชันของกราฟ เช่น หาสร้างกราฟแบบต่าง ๆ ลักษณะของกราฟเมื่อค่าต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. เข้าใจเรื่องฟังก์ชันของกราฟมากขึ้น จากการใช้โปรแกรม Scilab
|
20 | 0 |
62. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 1 |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านธรรมชาติรอบตัวสู่การปฏิบัติจริง
|
11 | 0 |
63. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 2 |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านเทคนิคการสกัดสารสู่การปฏิบัติจริง
|
15 | 0 |
64. ให้คำปรึกษาการฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ชุดวิชาที่ 3 |
||
วันที่ 5 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและนำเสนอแนวคิด “การวางแผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง” ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.แผนการถ่ายทอดบทเรียน/โครงงานทางด้านวิทยาการคำนวณสู่การปฏิบัติจริง
|
17 | 0 |
65. ออกแบบบทเรียนธรรมชาติที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบ active learning |
||
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ผู้เข้าอบรมวางแผนบทเรียนที่สอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ผู้เข้าอบรมนำเสนอแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 3. ผู้เข้าอบรมและวิทยากรร่วมกันพิจารณาแผนการจัดการเรียนรู้และให้ข้อเสนอแนะ 4. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถวางแผนบทเรียนธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ได้รับฟังข้อเสนอแนะและนำไปปรับแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้
|
12 | 0 |
66. การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ |
||
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายหลักการและขั้นตอนการทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy โดยใช้วิดีโอ 2 กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดที่กำหนดและสารสกัดจากพืชที่ตนเองสนใจด้วยเครื่อง spectroscopy ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม
1. ผู้เรียนทราบหลักการและขั้นตอนรวมทั้งลงมือปฏิบัติการวิเคราะห์ความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ด้วยเครื่อง spectroscopy
|
18 | 0 |
67. การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1 |
||
วันที่ 10 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. โครงสร้างโปรแกรมสำเร็จรูปในรูปแบบออนไลน์ของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) 2. การใช้งานเบื้องต้นโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. รู้จักและเข้าใจการทำงานของโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) 2. สามารถใช้งานโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) เบื้องต้นได้
|
20 | 0 |
68. ทดลองใช้บทเรียนธรรมชาติและสะท้อนผลเพื่อพัฒนา |
||
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. ฝึกการจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเอง 2. ฝึกการรับฟังเสียงสะท้อนผลการจัดกิจกรรมจากผู้เข้าอบรมและวิทยากร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เข้าอบรมสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ธรรมชาติแบบ active learning ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของตนเองได้ 2. ผู้เข้าอบรมได้รับฟังเสียงสะท้อนการจัดกิจกรรมจากวิทยากรและผู้ร่วมอบรมท่านอื่น ๆ และสามารถนำไปปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ครั้งถัดไปให้ดีขึ้นได้
|
12 | 0 |
69. การประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ |
||
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1 บรรยายขั้นตอนการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เจลล้างหน้า แฮร์โทนิก และเจลลี่เพื่อสุขภาพ 2. กิจกรรมกลุ่มฝึกปฏิบัติการประยุกต์ใช้สารสกัดในผลิตภัณฑ์ ด้วยสารสกัดที่ได้จากการเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. ผู้เรียนทราบขั้นตอนการเตรียมผลิตภัณฑ์ 2. ผลิตภัณฑ์จากสารสกัด ได้แก่ เจลล้างหน้าผสมสารสกัดดาวเรืองและสารสกัดข้าวหอมมะลิดำ แฮร์โทนิกผสมสารสกัดจากใบหมี่และอัญชัน และเจลลี่เพื่อสุขภาพผสมสารสกัดจากดาวเรืองและกระชายขาว
|
18 | 0 |
70. การใช้โปรแกรม FAM ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2 |
||
วันที่ 11 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมได้รับการบรรยายและฝึกปฏิบัติ ดังนี้ 1. การประยุกต์ใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวม เช่น การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม 1. สามารถใช้โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ในการแก้สถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้ได้ 2. นำโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิภัชนัย (FAM) ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการตัดเกรดนักเรียน การทำโครงงาน หรือการทำวิจัยในชั้นเรียน
|
20 | 0 |
71. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง |
||
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
|
15 | 0 |
72. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง |
||
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
|
11 | 0 |
73. การถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง |
||
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 18:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้เข้าอบรมถ่ายทอดบทเรียนสู่กลุ่มเป้าหมายในสถานประกอบการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติจริง
|
17 | 0 |
74. กิจกรรมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC และนำเสนอผลการเรียนรู้ |
||
วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
พัฒนาทักษะปฏิบัติการทางด้านวิทยาศาสตร์และการคำนวณ จังหวัด
รหัสโครงการ FN64/0017
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......