แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
“ ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN63/0007 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ
หลักสูตรฝึกอบรมยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้มีสมรรถนะและศักยภาพสูงขึ้นในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให้ถึงพร้อมด้วยสุขภาวะ เพื่อเป็นการวางรากฐานชีวิตของการมีพัฒนาการที่ดีต่อไปในอนาคต มีผู้เข้าร่วมอบรมเป็นผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร 30 คน และ ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 20 คน ดำเนินการจัดฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์ จำนวน 285 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น ภาคทฤษฎี 60 ชั่วโมง และภาคฝึกปฏิบัติ 225 ชั่วโมง โดยได้รับความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน และเจตคติที่ดี ตามการอบรมในหัวข้อดังนี้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการพัฒนาเด็กปฐมวัย จรรยาบรรณและบทบาทผู้ดูแลเด็กปฐมวัย พัฒนาการและการเรียนรู้ พื้นอารมณ์และปัจจัยที่ผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ความเจ็บป่วยทางกายในเด็กปฐมวัยที่พบบ่อย โรคติดต่อที่รุนแรงในปัจจุบัน การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในเด็กปฐมวัย การประเมินพัฒนาการเพื่อเฝ้าระวังและคัดกรอง ปัญหาสุขภาวะทางกายและความเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย การใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) สุขภาวะทางกาย การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านโภชนาการ การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสมรรถภาพทางกายและด้านความปลอดภัย การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านการดูแลสุขอนามัยของตนเอง การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสุนทรียทางอารมณ์และจิตใจ การออกแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสุนทรียทางอารมณ์และจิตใจ และการจัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ประเด็นข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้เข้าอบรม ได้แก่ ความต้องการให้มีการจัดโครงการอบรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
- ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร รุ่น 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
วันที่ 18 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
กระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ ดำเนินการตามกระบวนการ PDCA เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร ดังนี้
Plan ประชุมวางแผนการสอนในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยกำหนดระยะเวลาการสอน ปรับรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 การประเมินผลความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติ และเจตคติในการเรียนตลอดหลักสูตร
Do ประธานรายวิชาประชุมวางแผนการสอนกับอาจารย์ร่วมสอนในแต่ละหัวข้อโดยให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร โดย
1. ด้านความรู้
หลักสูตรกำหนดให้ทุกหัวข้อของรายวิชาที่เรียนมีการประเมินก่อน–หลังการเรียนรู้ด้วยข้อสอบpre-post test มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (multiple choice) จำนวน 20 ข้อทุกหัวข้อที่เรียน ในกรณีของผู้เรียนบางคนที่ป่วยเนื่องจากการติดเชื้อโควิด 19 และขาดเรียนในบางหัวข้อ หลักสูตรได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองและทบทวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาของแต่ละหัวข้อด้วยการให้ผู้เรียนเข้าไปเปิดดูวิดิโอการสอน สื่อพาวเวอร์พอยต์และไฟล์เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ระบบ Google Classroom หลักสูตรจึงสามารถติดตามและประเมินความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละหัวข้อที่เรียนได้อย่างต่อเนื่อง
2. ด้านทักษะการปฏิบัติ
หลักสูตรกำหนดให้ทุกรายวิชาของการเรียนมีงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม มีการนิเทศการปฏิบัติงานโดยอาจารย์นิเทศก์ประจำศูนย์และอาจารย์ในหลักสูตร และกำหนดให้มีการติดตามผลการฝึกปฏิบัติงานในชั้นเรียน โดยให้ผู้เรียนรายงานกระบวนการฝึกปฏิบัติและผลงานที่ได้จากการปฏิบัติตามหัวข้อที่เรียนด้วยวาจาและวิดิโอคลิปในรูปแบบออนไลน์
Check ประธานหลักสูตร อาจารย์หลักสูตรและอาจารย์นิเทศก์ประจำศูนย์พัฒนาเด็กประชุมร่วมกันเพื่อติดตามและพิจารณาผลการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาและผลการฝึกปฏิบัติในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
Act นำผลการประชุมการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน และผลงานจากการฝึกปฏิบัติ เสนอต่อคณะกรรมการพร้อมทั้งนำข้อเสนอแนะต่างๆไปใช้ในการปรับปรุงดำเนินการครั้งต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดการศึกษาครั้งนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เป็นไปตามหลักสูตรการฝึกอบรม โดยผู้รับการอบรมสามารถ “ทำ” “คิด” และมี “คุณลักษณะ” ครอบคลุมในด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติและด้านทัศนคติและคุณธรรม ดังนี้
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางกายที่พบบ่อย
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเพื่อเฝ้าระวังและคัดกรอง
5. มีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านการจัดโภชนาการ
6. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะและสมรรถนะทางร่างกายของเด็กปฐมวัย
7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะและสมรรถนะทาง
ร่างกายของเด็กปฐมวัย
8. มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาต่างๆของเด็กปฐมวัยให
สอดคล้องกันได้อย่างเหมาะสม
9. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์
ด้านทัศนคติและจริยธรรม
1. มีทัศนะคติที่ดีต่อการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
2. มีทัศนะคติที่ดีต่อการดูแล การวางแผน การส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
3. มีทัศนคติที่ดีต่อการการดูแลเด็กปฐมวัยที่มีความเจ็บป่วย คัดกรองปัญหาสุขภาวะทางกาย
และความเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย
4. มีทัศนคติที่ดีต่อการประเมินเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย
5. มีทัศนะคติที่ดีต่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
6. มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานในวิชาชีพ และต่อการปฏิบัติงานในศูนย์พัฒนาเด็ก
7. มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เพิ่มความมั่นใจในการให้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติงานให้ตรงตาม
เป้าหมายที่ศูนย์พัฒนาเด็กวางแผน
8. มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์ในการแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง
ด้านทักษะการปฏิบัติงาน
1. มีทักษะการดูแลพฤติกรรมด้านสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
2. มีทักษะในด้านการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยการใช้เครื่องมือ DSPM
3. มีทักษะในการออกแบบกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการเคลื่อนไหว การร้องเพลง การเล่นดนตรี
4. มีทักษะการช่วยชีวิตเด็กเบื้องต้น
5. มีทักษะในการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะและสมรรถนะสำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม
6. มีทักษะในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็ก
7. มีทักษะการทำงานเป็นทีมแบ่งงานให้ทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
8. มีทักษะในการบริหารเวลาจัดการในการทำงาน
9. มีทักษะในการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์
50
0
2. ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร รุ่น 2
วันที่ 30 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ ดำเนินการตามกระบวนการ PDCA เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร ดังนี้
Plan ประชุมวางแผนการสอนในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยกำหนดระยะเวลาการสอน ปรับรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 การประเมินผลความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติ และเจตคติในการเรียนตลอดหลักสูตร
Do ประธานรายวิชาประชุมวางแผนการสอนกับอาจารย์ร่วมสอนในแต่ละหัวข้อโดยให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร โดย
1. ด้านความรู้
หลักสูตรกำหนดให้ทุกหัวข้อของรายวิชาที่เรียนมีการประเมินก่อน–หลังการเรียนรู้ด้วยข้อสอบpre-post test มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (multiple choice) จำนวน 20 ข้อทุกหัวข้อที่เรียน ในกรณีของผู้เรียนบางคนที่ป่วยเนื่องจากการติดเชื้อโควิด 19 และขาดเรียนในบางหัวข้อ หลักสูตรได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเองและทบทวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาของแต่ละหัวข้อด้วยการให้ผู้เรียนเข้าไปเปิดดูวิดิโอการสอน สื่อพาวเวอร์พอยต์และไฟล์เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องโดยใช้ระบบ Google Classroom หลักสูตรจึงสามารถติดตามและประเมินความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละหัวข้อที่เรียนได้อย่างต่อเนื่อง
2. ด้านทักษะการปฏิบัติ
หลักสูตรกำหนดให้ทุกรายวิชาของการเรียนมีงานที่มอบหมายให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม มีการนิเทศการปฏิบัติงานโดยอาจารย์นิเทศก์ประจำศูนย์และอาจารย์ในหลักสูตร และกำหนดให้มีการติดตามผลการฝึกปฏิบัติงานในชั้นเรียน โดยให้ผู้เรียนรายงานกระบวนการฝึกปฏิบัติและผลงานที่ได้จากการปฏิบัติตามหัวข้อที่เรียนด้วยวาจาและวิดิโอคลิปในรูปแบบออนไลน์
Check ประธานหลักสูตร อาจารย์หลักสูตรและอาจารย์นิเทศก์ประจำศูนย์พัฒนาเด็กประชุมร่วมกันเพื่อติดตามและพิจารณาผลการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาและผลการฝึกปฏิบัติในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
Act นำผลการประชุมการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน และผลงานจากการฝึกปฏิบัติ เสนอต่อคณะกรรมการพร้อมทั้งนำข้อเสนอแนะต่างๆไปใช้ในการปรับปรุงดำเนินการครั้งต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดการศึกษาครั้งนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เป็นไปตามหลักสูตรการฝึกอบรม โดยผู้รับการอบรมสามารถ “ทำ” “คิด” และมี “คุณลักษณะ” ครอบคลุมในด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติและด้านทัศนคติและคุณธรรม ดังนี้
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วยทางกายที่พบบ่อย
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเพื่อเฝ้าระวังและคัดกรอง
5. มีความรู้ความเข้าใจการส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านการจัดโภชนาการ
6. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะและสมรรถนะทางร่างกายของเด็กปฐมวัย
7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะและสมรรถนะทาง
ร่างกายของเด็กปฐมวัย
8. มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาต่างๆของเด็กปฐมวัยให
สอดคล้องกันได้อย่างเหมาะสม
9. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์
ด้านทัศนคติและจริยธรรม
1. มีทัศนะคติที่ดีต่อการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
2. มีทัศนะคติที่ดีต่อการดูแล การวางแผน การส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
3. มีทัศนคติที่ดีต่อการการดูแลเด็กปฐมวัยที่มีความเจ็บป่วย คัดกรองปัญหาสุขภาวะทางกาย
และความเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย
4. มีทัศนคติที่ดีต่อการประเมินเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย
5. มีทัศนะคติที่ดีต่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
6. มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานในวิชาชีพ และต่อการปฏิบัติงานในศูนย์พัฒนาเด็ก
7. มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เพิ่มความมั่นใจในการให้นำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติงานให้ตรงตาม
เป้าหมายที่ศูนย์พัฒนาเด็กวางแผน
8. มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์ในการแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตนเอง
ด้านทักษะการปฏิบัติงาน
1. มีทักษะการดูแลพฤติกรรมด้านสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัย
2. มีทักษะในด้านการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัยการใช้เครื่องมือ DSPM
3. มีทักษะในการออกแบบกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการเคลื่อนไหว การร้องเพลง การเล่นดนตรี
4. มีทักษะการช่วยชีวิตเด็กเบื้องต้น
5. มีทักษะในการออกแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะและสมรรถนะสำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม
6. มีทักษะในการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็ก
7. มีทักษะการทำงานเป็นทีมแบ่งงานให้ทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
8. มีทักษะในการบริหารเวลาจัดการในการทำงาน
9. มีทักษะในการใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร จังหวัด
รหัสโครงการ FN63/0007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
“ ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร ”
หัวหน้าโครงการ
ชื่อโครงการ ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ FN63/0007 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ
หลักสูตรฝึกอบรมยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับคุณภาพผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้มีสมรรถนะและศักยภาพสูงขึ้นในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ให้ถึงพร้อมด้วยสุขภาวะ เพื่อเป็นการวางรากฐานชีวิตของการมีพัฒนาการที่ดีต่อไปในอนาคต มีผู้เข้าร่วมอบรมเป็นผู้ดูแลเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร 30 คน และ ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 20 คน ดำเนินการจัดฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์ จำนวน 285 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น ภาคทฤษฎี 60 ชั่วโมง และภาคฝึกปฏิบัติ 225 ชั่วโมง โดยได้รับความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน และเจตคติที่ดี ตามการอบรมในหัวข้อดังนี้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการพัฒนาเด็กปฐมวัย จรรยาบรรณและบทบาทผู้ดูแลเด็กปฐมวัย พัฒนาการและการเรียนรู้ พื้นอารมณ์และปัจจัยที่ผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ความเจ็บป่วยทางกายในเด็กปฐมวัยที่พบบ่อย โรคติดต่อที่รุนแรงในปัจจุบัน การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในเด็กปฐมวัย การประเมินพัฒนาการเพื่อเฝ้าระวังและคัดกรอง ปัญหาสุขภาวะทางกายและความเจ็บป่วยของเด็กปฐมวัย การใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) สุขภาวะทางกาย การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านโภชนาการ การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสมรรถภาพทางกายและด้านความปลอดภัย การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านการดูแลสุขอนามัยของตนเอง การส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสุนทรียทางอารมณ์และจิตใจ การออกแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางกายด้านสุนทรียทางอารมณ์และจิตใจ และการจัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ประเด็นข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้เข้าอบรม ได้แก่ ความต้องการให้มีการจัดโครงการอบรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร
- ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร รุ่น 2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร |
||
วันที่ 18 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำกระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ ดำเนินการตามกระบวนการ PDCA เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร ดังนี้
Plan ประชุมวางแผนการสอนในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยกำหนดระยะเวลาการสอน ปรับรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 การประเมินผลความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติ และเจตคติในการเรียนตลอดหลักสูตร
Do ประธานรายวิชาประชุมวางแผนการสอนกับอาจารย์ร่วมสอนในแต่ละหัวข้อโดยให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร โดย
1. ด้านความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดการศึกษาครั้งนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เป็นไปตามหลักสูตรการฝึกอบรม โดยผู้รับการอบรมสามารถ “ทำ” “คิด” และมี “คุณลักษณะ” ครอบคลุมในด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติและด้านทัศนคติและคุณธรรม ดังนี้
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
|
50 | 0 |
2. ยกระดับสมรรถนะผู้ดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร รุ่น 2 |
||
วันที่ 30 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกระบวนการวัดความก้าวหน้าของผลลัพธ์การเรียนรู้ ดำเนินการตามกระบวนการ PDCA เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของหลักสูตร ดังนี้
Plan ประชุมวางแผนการสอนในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร โดยกำหนดระยะเวลาการสอน ปรับรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนเป็นแบบออนไลน์เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 การประเมินผลความรู้ ทักษะจากการปฏิบัติ และเจตคติในการเรียนตลอดหลักสูตร
Do ประธานรายวิชาประชุมวางแผนการสอนกับอาจารย์ร่วมสอนในแต่ละหัวข้อโดยให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร โดย
1. ด้านความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดการศึกษาครั้งนี้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เป็นไปตามหลักสูตรการฝึกอบรม โดยผู้รับการอบรมสามารถ “ทำ” “คิด” และมี “คุณลักษณะ” ครอบคลุมในด้านความรู้ ทักษะการปฏิบัติและด้านทัศนคติและคุณธรรม ดังนี้
ด้านความรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายและจรรยาบรรณเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ยกระดับสมรรถนะและศักยภาพของผู้ดูแลเด็กปฐมวัยเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะทางกายของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก กรุงเทพมหานคร จังหวัด
รหัสโครงการ FN63/0007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......