แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น


“ เกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farmer & Smart Communities) ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ เกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farmer & Smart Communities)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0022 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farmer & Smart Communities) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farmer & Smart Communities)



บทคัดย่อ

หลักสูตรเกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ เชื่อว่า “เราสามารถพัฒนาเกษตรกรให้มีความเป็นเกษตรกรอัจฉริยะได้ ถ้าเรามีเกษตรกรอัจฉริยะที่มากพอเราก็จะได้ชุมชนเกษตรอัจฉริยะ” หลักสูตรนี้เป็นการดำเนินงานเพื่อให้เกษตรกรที่มีทุนความเชี่ยวชาญด้านการเกษตรเดิมได้มีการ Upskill การทำการเกษตรด้วยการใช้เทคโนโลยีแบบสมาร์ทฟาร์ม มีการตรวจวัดค่าที่ได้จากอุปกรณ์ตรวจวัดแบบอัตโนมัติ ได้แก่ ความชื้นในดิน ความชื้นในอากาศ อุณหภูมิ ค่าการนำไฟฟ้าของดิน การเปิดปิดน้ำอัตโนมัติ มาประยุกต์ใช้ในพื้นที่การเกษตรของตนเอง มีการบูรณาการองค์วามรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความรู้ทางด้านการเกษตรจากผู้เชี่ยวชาญ การประกอบการดิจิทัลที่เน้นไปที่การสร้างดิจิทัลคอนเทนต์ด้วยสื่อมัลติมีเดียผ่านแอปพลิเคชัน TikTok การสร้างความเข้าใจด้านบัญชีการเงินและระบบโลจิสติกส์ เพื่อสร้างความเข้าใจในมิติของการคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าของตนเอง การอ่านและตีความแผนที่การใช้ที่ดินข้อมูลดาวเทียม Google Earth และการกำหนดตำแหน่งบนโลกด้วยพิกัดทางภูมิศาสตร์เพื่อการปักหมุดพื้นที่เกษตรของตนเองบน Google Map เพื่อการประกอบธุรกิจด้านการเกษตร การดำเนินในรุ่นที่ 1 นี้มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 43 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มเกษตรวิสาหกิจชุมชนคนเกษตรปลูกพืชผักและผลไม้ปลอดภัย ในพื้นที่ตำบลบ่อหลวง - ตำบลบ่อสลี จำนวน 39 คน ครูโรงเรียนในเขตพื้นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 จำนวน 2 คน และ เกษตรกรในพื้นที่อำเภอจอมทองจำนวน 2 คน โดยผู้เรียนทุกคนมีพื้นฐานการทำการเกษตรเป็นทุนเดิม มีการปลูกผัก พืชล้มลุก ผักในโรงเรือน องุ่น และบางส่วนได้มีการปลูกเมล่อน ซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนที่ดี เนื่องจากมีราคาขายค่อนข้างสูง และสามารถเพาะปลูกได้ง่าย เกษตรกรผู้เรียนมีทักษะการปลูกพืช มีการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายทางด้านการเกษตรที่เข้มแข็ง ตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำการเกษตร ที่สามารถดำเนินกิจกรรมหลักสูตรเกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ Smart Farming ให้เกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมได้มีการดำเนินเป็นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ณ ฟาร์มสเตย์ เมล่อน จุ๋ย ต.บ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ พิกัดทางภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองกิจูด 18.1050797,98.3682604 มีระยะห่างจากมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 150 กิโลเมตร (รูปที่ 1) ผลการดำเนินกิจกรรมในหลักสูตร พบว่า เกษตรกร Upskill เป็นเกษตรกรแบบอัจฉริยะ หรือ Smart Farmer มีผู้ผ่านหลักสูตรจำนวน 40 คน และไม่ผ่านหลักสูตรจำนวน 3 คน พบว่ามีเกษตรกรได้เริ่มดำเนินการด้วยการนำเอาอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเอง ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินงานติดตั้งระบบ ได้แก่ ระบบควบคุมการเปิดปิดเพื่อแจกจ่ายน้ำเข้าโรงเรือน ระบบตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้นในดิน ความชื้นในอากาศ ระบบการแสดงผลการสถานะการทำงาน จำนวนทั้งสิ้น 27 คน จากผู้เข้าร่วมทั้งหมด 43 คน คิดเป็นร้อยละ 62.79 ถือได้ว่าผ่าน 3 เกณฑ์ตัวชี้วัด 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ความรู้ ทักษะ และเจตคติ จัดอยู่ในกลุ่ม “ดีมาก” และมีเกษตรกรจำนวน 13 คน ผ่าน 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ความรู้ และทักษะ คิดเป็นร้อยละ 30.23 และมีจำนวน 3 คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 6.98

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การประชุม
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  3. ปฏิบัติการ Smart Farm ภาคสนาม
  4. ระบบเอกสาร
  5. ประชุมเพื่อวางแผนและกำกับติดตามงาน (10 คน x 5 ครั้ง x 240 บาท)
  6. การเกษตรเบื้องต้น (15 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  7. ภูมิสารสนเทศ (15 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  8. โลจิสติกส์ (9 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  9. การประกอบการและการตลาดดิจิทัล (15 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  10. การเงินและการบัญชี (9 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  11. นวัตกร (12 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  12. ไฟฟ้าเบื้องต้น (3 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  13. พลังงานแสงอาทิตย์และแบตเตอร์รี่ (3 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  14. วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและอุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor) ทางการเกษตร (15 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  15. ติดตั้งวางระบบชุด KIT ติดตั้งในพื้นที่เป้าหมายของผู้เข้าร่วม ได้แก่ อ.ฮอด และอ.จอมทอง
  16. จัดฝึกอบรม สถานที่ เดินทาง ที่พัก อาหารและเครื่องดื่ม ค่าวิทยากรรับเชิญ ค่าผู้ช่วยวิทยากร และการติดตั้ง Smart Farm บูรณาการองค์ความรู้เพื่อการประกอบธุรกิจทางการเกษตร และโรงเรือนสาธิตครบระบบ (183 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  17. onsite แบบเข้มข้นในสถานประกอบการต่างๆ (ค่าน้ำมัน ค่าอาหาร ค่าวัสดุใช้สอยจำเป็นหน้างาน ค่าดำเนินงานจัดทำอุปกรณ์ต้นแบบสมาร์ทฟาร์มแปลงสาธิต) จำนวน 40 ราย x 5,000 บาท
  18. ชุด Kit เพื่อการเรียนการสอนและการติดตั้งในพื้นที่จริง Smart Farm ในพื้นที่เป้าหมาย ประกอบด้วย Solar Cell แบตเตอร์รี่ ชุด Kit อุปกรณ์ตรวจวัด ชุดสมองกล อุปกรณ์ วัสดุทางการเกษตร จำนวน 40 ชุด x 10,000 บาท
  19. การจัดทำเอกสาร
  20. อุปกรณ์สำนักงาน ได้แก่ กระดาษ หมึกพิมพ์ ฯลฯ
  21. ระบบสมองกลในการควบคุมอัตโนมัติ (15 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  22. ระบบสื่อสารผ่านเครือข่ายระหว่างระบบสมองกลและอุปกรณ์ตรวจวัด (9 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  23. การประมวลผลข้อมูลในระบบ Cloud (3 ชั่วโมง x 1,200 บาท)
  24. การสร้าง Dashboard แสดงผลข้อมูล และควบคุมการทำงาน (9 ชั่วโมง x 1,200 บาท)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

หลักสูตรเกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ เชื่อว่า “เราสามารถพัฒนาเกษตรกรให้มีความเป็นเกษตรกรอัจฉริยะได้ ถ้าเรามีเกษตรกรอัจฉริยะที่มากพอเราก็จะได้ชุมชนเกษตรอัจฉริยะ” หลักสูตรนี้เป็นการดำเนินงานเพื่อให้เกษตรกรที่มีทุนความเชี่ยวชาญด้านการเกษตรเดิมได้มีการ Upskill การทำการเกษตรด้วยการใช้เทคโนโลยีแบบสมาร์ทฟาร์ม มีการตรวจวัดค่าที่ได้จากอุปกรณ์ตรวจวัดแบบอัตโนมัติ ได้แก่ ความชื้นในดิน ความชื้นในอากาศ อุณหภูมิ ค่าการนำไฟฟ้าของดิน การเปิดปิดน้ำอัตโนมัติ มาประยุกต์ใช้ในพื้นที่การเกษตรของตนเอง มีการบูรณาการองค์วามรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ความรู้ทางด้านการเกษตรจากผู้เชี่ยวชาญ การประกอบการดิจิทัลที่เน้นไปที่การสร้างดิจิทัลคอนเทนต์ด้วยสื่อมัลติมีเดียผ่านแอปพลิเคชัน TikTok การสร้างความเข้าใจด้านบัญชีการเงินและระบบโลจิสติกส์ เพื่อสร้างความเข้าใจในมิติของการคำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าของตนเอง การอ่านและตีความแผนที่การใช้ที่ดินข้อมูลดาวเทียม Google Earth และการกำหนดตำแหน่งบนโลกด้วยพิกัดทางภูมิศาสตร์เพื่อการปักหมุดพื้นที่เกษตรของตนเองบน Google Map เพื่อการประกอบธุรกิจด้านการเกษตร การดำเนินในรุ่นที่ 1 นี้มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 43 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มเกษตรวิสาหกิจชุมชนคนเกษตรปลูกพืชผักและผลไม้ปลอดภัย ในพื้นที่ตำบลบ่อหลวง - ตำบลบ่อสลี จำนวน 39 คน ครูโรงเรียนในเขตพื้นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 จำนวน 2 คน และ เกษตรกรในพื้นที่อำเภอจอมทองจำนวน 2 คน โดยผู้เรียนทุกคนมีพื้นฐานการทำการเกษตรเป็นทุนเดิม มีการปลูกผัก พืชล้มลุก ผักในโรงเรือน องุ่น และบางส่วนได้มีการปลูกเมล่อน ซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนที่ดี เนื่องจากมีราคาขายค่อนข้างสูง และสามารถเพาะปลูกได้ง่าย เกษตรกรผู้เรียนมีทักษะการปลูกพืช มีการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายทางด้านการเกษตรที่เข้มแข็ง ตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่เอื้อต่อการทำการเกษตร ที่สามารถดำเนินกิจกรรมหลักสูตรเกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ Smart Farming ให้เกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมได้มีการดำเนินเป็นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ณ ฟาร์มสเตย์ เมล่อน จุ๋ย ต.บ่อหลวง อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ พิกัดทางภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองกิจูด 18.1050797,98.3682604 มีระยะห่างจากมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 150 กิโลเมตร (รูปที่ 1) ผลการดำเนินกิจกรรมในหลักสูตร พบว่า เกษตรกร Upskill เป็นเกษตรกรแบบอัจฉริยะ หรือ Smart Farmer มีผู้ผ่านหลักสูตรจำนวน 40 คน และไม่ผ่านหลักสูตรจำนวน 3 คน พบว่ามีเกษตรกรได้เริ่มดำเนินการด้วยการนำเอาอุปกรณ์อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเอง ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำเนินงานติดตั้งระบบ ได้แก่ ระบบควบคุมการเปิดปิดเพื่อแจกจ่ายน้ำเข้าโรงเรือน ระบบตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้นในดิน ความชื้นในอากาศ ระบบการแสดงผลการสถานะการทำงาน จำนวนทั้งสิ้น 27 คน จากผู้เข้าร่วมทั้งหมด 43 คน คิดเป็นร้อยละ 62.79 ถือได้ว่าผ่าน 3 เกณฑ์ตัวชี้วัด 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ความรู้ ทักษะ และเจตคติ จัดอยู่ในกลุ่ม “ดีมาก” และมีเกษตรกรจำนวน 13 คน ผ่าน 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ความรู้ และทักษะ คิดเป็นร้อยละ 30.23 และมีจำนวน 3 คนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 6.98

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เกษตรกรอัจฉริยะและชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farmer & Smart Communities) จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0022

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด