directions_run

การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร (หลักสูตร Non-Degree)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี


“ การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0130 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ FN65/0130 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร ประกาศนียบัตร (Non Degree)
  2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5
  3. จัดซื้อวัสดุเฉพาะทาง สำหรับฝึกปฏิบัติสุขาภิบาลอาหาร
  4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5
  5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5
  6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5
  7. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5
  8. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9
  9. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9
  10. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9
  11. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9
  12. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”
  13. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”
  14. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”
  15. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”
  16. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”
  17. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”
  18. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”
  19. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”
  20. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”
  21. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร"
  22. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการะูรกิจอาหาร”
  23. การประยุกต์ใช้หลักการ Business Model Canvas ร่วมกับหลักการการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบธุรกิจอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และเห็นภาพรวมเกี่ยวกับ การสุขาภิบาลที่ส่งผลต่อคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร และหลักการและมาตรฐานการสุขาภิบาลอาหารที่สำคัญ การนำกรณีศึกษามายกตัวอย่างเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้เข้าใจมากขึ้น และมีการทดสอบความสะอาดของมือผู้สัมผัสอาหารเบื้องต้น เพื่อแสดงให้เห็นว่ามือของผู้สัมผัสอาหารต้องมีความสะอาดก่อนที่จะผลิตอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

 

35 0

2. จัดซื้อวัสดุเฉพาะทาง สำหรับฝึกปฏิบัติสุขาภิบาลอาหาร

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัสดุเฉพาะทางใช้ตลอดหลักสูตรโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรม ได้มีวัสดุใช้ตลอดการอบรม

 

30 0

3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของสารอาหาร ความสำคัญขององค์ประกอบของอาหารและโภชนาการ และลักษณะคุณภาพและการเสื่อมเสียของอาหาร เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นและนำไปต่อยอดในการจัดการเกี่ยวกับวัตถุดิบอาหารและผลิตภัณฑ์อาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูปได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ความสำคัญขององค์ประกอบของอาหารและโภชนาการ และลักษณะคุณภาพของการเสื่อมเสียของอาหาร โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงดี  วิเชียรโหตุ และอาจารย์พรทิพย์  ธนรติกุล ในการอบรมครั้งนี้

 

35 0

4. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เกี่ยวกับการใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการเลือกและเตรียมวัตถุดิบอาหารสำหรับการแปรรูป และการประเมินคุณภาพด้านกายภาพ เคมีและจุลินทรีย์ รวมทั้งแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการการคัดเลือกวัตถุดิบโดยใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านกายภาพที่เกี่ยวข้องกับความสด การตรวจสอบสารตกค้างในวัตถุดิบ ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ โดยใช้ชุดทดสอบ การตรวจสอบน้ำมันเก่าและน้ำมันใหม่โดยการประเมินคุณภาพด้านกายภาพร่วมกับการใช้ชุดทดสอบ การตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อ Coliform โดยใช้ชุดทดสอบ E.Coli และ Coliform ในอาหาร รวมถึงการมอบหมายงานเพื่อให้ผู้อบรมได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยกำหนดกิจกรรมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติการเองที่บ้าน ได้แก่ การนำตัวอย่างอาหารหรือตัวอย่างเครื่องดื่มที่สงสัยว่าอาจจะมีการปนเปื้อนของเชื้อ Coliform ซึ่งเป็นเชื้อโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ มาทดสอบเบื้องต้นด้วยชุดทดสอบอย่างง่าย และส่งผลการฝึกปฏิบัติผ่านทางไลน์กลุ่มของโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดเลือกวัตถุดิบโดยใช้เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านกายภาพที่เกี่ยวข้องกับความสด สามารถเตรียมวัตถุดิบอาหารสำหรับการแปรรูป และสามารถตรวจสอบสารตกค้างในวัตถุดิบ ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ สามารถตรวจสอบน้ำมันเก่าและน้ำมันใหม่ และสามารถตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อ Coliform ซึ่งเป็นการทดสอบเบื้องต้นด้วยชุดทดสอบอย่างง่ายได้

 

35 0

5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง วิธีการตรวจสอบสุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ผลิตอาหาร การแต่งการที่เหมาะสมของผู้ผลิตอาหาร และฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การล้างมือที่ถูกต้อง และตรวจสอบความสะอาดในการล้างมือ โดยทำการ swab testมือ และเพาะเชื้อที่เกี่ยวข้องกับสุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ผลิตอาหาร ได้แก่ เชื้อ E.Coli ซึ่งเป็นเชื้อโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการล้างมือของผู้ผลิตอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบสำเร็จรูป Compact Dry

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง สุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ผลิตอาหาร และการฝึกปฏิบัติการตรวจสอบสุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ผลิตอาหาร ซึ่งผลการฝึกปฏิบัติการไม่พบเชื้อ E.Coli ในผู้เข้ารับการอบรมทุกคน แสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ผลิตอาหาร

 

35 0

6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร โดยวิทยากรได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาของสถานประกอบการที่ได้ทำการขออนุญาตผลิตอาหารและผ่านการรับรองตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมถึงยกตัวอย่างกรณีศึกษาของสถานประกอบการที่ได้ทำการขออนุญาตผลิตอาหารและไม่ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยให้ข้อเสนอแนะแนวทางและขั้นตอนเพิ่มเติมว่าจะทำอย่างไรจึงเพื่อให้ขออนุญาตผลิตอาหารได้ผ่านการรับรองตามเกณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตอาหาร  และสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้

 

35 0

7. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9

วันที่ 5 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง สุขลักษณะการผลิตเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสมุนไพร น้ำพันช์ และผลิตภัณฑ์กาแฟ โดยเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบ การล้างขวดสำหรับบรรจุ โดยใช้คลอรีนเป็นสารฆ่าเชื้อภาชนะบรรจุ การฆ่าเชื้อเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท รวมถึงการมอบหมายงานเพื่อให้ผู้อบรมได้ศึกษาด้วยตนเอง โดยมอบหมายกิจกรรมให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติการเองที่บ้าน โดยสังเกตการเสื่อมเสียของน้ำลำไยบรรจุขวดที่ผ่านการล้างทำความสะอาดด้วยสารฆ่าเชื้อ เปรียบเทียบกับน้ำลำไยบรรจุขวดที่ไม่ผ่านการล้างทำความสะอาดด้วยสารฆ่าเชื้อ และส่งผลการฝึกปฏิบัติผ่านทางไลน์กลุ่มของโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง สุขลักษณะการผลิตเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท โดยสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหาร ที่เกี่ยวข้องกับสุขลักษณะการผลิตเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท สามารถผลิตเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ที่สะอาด ปลอดภัยและมีคุณภาพ พร้อมทั้งเปรียบเทียบความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการผลิตตามหลักการสุขาภิบาลอาหารกับที่ไม่ผ่านการผลิตตามหลักการสุขาภิบาลอาหารได้

 

35 0

8. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9

วันที่ 12 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง สุขลักษณะที่ดีในการแปรรูปอาหารด้วยการทำแห้ง ได้แก่ ผักแผ่น สูตรผักกะหล่ำปลีและสูตรผักคะน้า โดยเริ่มตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบ การล้างวัตถุดิบ การลวก  การอบแห้งผักแผ่น และการบรรจุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง สุขลักษณะที่ดีในการแปรรูปอาหารด้วยการทำแห้ง โดยสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหาร ที่เกี่ยวข้องกับสุขลักษณะที่ดีในการแปรรูปอาหารด้วยการทำแห้ง โดยผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

 

35 0

9. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9

วันที่ 19 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารให้ถูกต้องตามกฎหมาย และขั้นตอนการขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารให้ถูกต้องตามกฎหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการขออนุญาตสถานที่ผลิตอาหารให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยนำหลักการสุขาภิบาลอาหารที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ผลิตอาหาร อุปกรณ์ และเครื่องมือ/เครื่องจักร ต่างๆ ไปใช้เป็นพื้นฐานในการดำเนินงาน ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และนำไปต่อยอดการดำเนินงานทางธุรกิจได้

 

35 0

10. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9

วันที่ 26 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง เทคโนโลยีการยืดอายุการเก็บผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปประเภทผลิตภัณฑ์น้ำพริกผัด และผลิตภัณฑ์น้ำพริกกุ้งเสียบ โดยมีการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำพริก เริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบ การล้างและการฆ่าเชื้อขวดสำหรับบรรจุน้ำพริกโดยใช้ความร้อน และกระบวนการผลิตและการฆ่าเชื้อผลิตภัณฑ์น้ำพริก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าเรื่อง เทคโนโลยีการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปประเภทผลิตภัณฑ์น้ำพริก โดยสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์น้ำพริกได้

 

35 0

11. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”

วันที่ 27 มีนาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการผลิตขนมหวาน และแนวทางในการดำเนินธุรกิจผลิตภัณฑ์ขนมหวาน ณ โรงงานลุงอเนกขนมหวานเมืองเพ็ชร์ รวมทั้งแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตขนมเปียกปูนใบเตย ขนมเปียกปูนน้ำตาลสด และขนมเปียกปูนลูกตาลสด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร ประเภทผลิตภัณฑ์ขนมหวาน  และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม พร้อมทั้งได้แนวทางและแรงบันดาลใจในการดำเนินธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร

 

37 0

12. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”

วันที่ 1 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตขนมจาก ขนมเปี๊ยะไส้ลูกจากและขนมทองม้วน โดยฝึกปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ ณ วิสาหกิจชุมชนบ้านคลองนาเกลือ ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ โดยเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบ การล้างทำความสะอาดวัตถุดิบ กระบวนการผลิตและการบรรจุผลิตภัณฑ์ขนมจาก ขนมทองม้วน และขนมเปี๊ยะไส้ลูกจาก สุขลักษณะที่ดีในการผลิตผลิตภัณฑ์ขนมจาก ขนมทองม้วน และขนมเปี๊ยะไส้ลูกจาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสุขาภิบาลอาหาร และสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ขนมจาก ขนมทองม้วน และขนมเปี๊ยะไส้ลูกจาก รวมทั้งได้แนวทางในการปรับปรุงสถานที่ผลิตและอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร และข้อควรระวังในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้มีคุณภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

 

37 0

13. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”

วันที่ 5 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่องแนวทางการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดผลิตผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อผู้ประกอบการธุรกิจ และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์น้ำพริก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดพัฒนาผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อการต่อยอดในธุรกิจอาหาร รวมทั้งได้เรียนรู้กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มน้ำมะขามเข้มข้น ผลิตภัณฑ์น้ำพริก และผลิตภัณฑ์โปรตีนเกษตร

 

38 0

14. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”

วันที่ 22 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตแยมลูกหม่อน และการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตไวน์ลูกหม่อน โดยเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบ การล้างทำความสะอาดวัตถุดิบ กระบวนการผลิตและการบรรจุผลิตภัณฑ์ ณ วิสาหกิจชุมชนเกษตรสุขสันต์บ้านคลองกระแซงเตย ต.คลองสวน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตแยมลูกหม่อน และไวน์ลูกหม่อน เพื่อให้ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้มีคุณภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

 

36 0

15. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5”

วันที่ 23 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตผงโรยข้าวสำเร็จรูปโดยใช้กะปิผงเป็นวัตถุดิบหลัก และการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตกะปิหวาน โดยเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบ การล้างทำความสะอาดวัตถุดิบ กระบวนการผลิตและการบรรจุผลิตภัณฑ์ ณ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มผลิตกะปิชุมชน หมู่ 9 ต. คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดพัฒนาผลิตผลิตภัณฑ์อาหารโดยใช้กะปิเป็นวัตถุดิบหลัก เพื่อการต่อยอดในธุรกิจอาหาร รวมทั้งได้เรียนรู้หลักการคัดเลือกวัตถุดิบ และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากกะปิที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์กะปิหวาน และผงโรยข้าวสำเร็จรูปโดยใช้กะปิผงเป็นวัตถุดิบหลัก

 

37 0

16. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”

วันที่ 29 เมษายน 2566 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับธุรกิจร้านขายปลีกเนื้อสัตว์ และ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติการ การตัดแต่งชิ้นเนื้อไก่ให้ได้ขนาดและรูปร่างตามที่ลูกค้ากำหนด ณ บริษัท พีแอนด์วาย (2016) กรุ๊ป จำกัด จ.นครนายก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการดำเนินงานในธุรกิจค้าปลีกเนื้อสัตว์ โดยเริ่มตั้งแต่การควบคุมอุณหภูมิของวัตถุดิบเนื้อสัตว์ในขั้นตอนการรับวัตถุดิบ การตัดแต่งชิ้นเนื้อสัตว์ การบรรจุ และการจำหน่าย รวมถึงสุขลักษณะที่ดีในการปฏิบัติงานของพนักงาน

 

36 0

17. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และอภิปราย เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับพัฒนาสินค้าทางการเกษตรให้ได้มาตรฐานและตรงตามความต้องการของตลาด เพื่อผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร ณ ศูนย์ OTOP คอมเพล็กซ์ พุแค (ตลาดหัวปลี) จ. สระบุรี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดวัตถุดิบในชุมชนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานต่าง ๆ เช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) และมาตรฐานระบบการผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายอาหารจากคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นต้น เพื่อการต่อยอดธุรกิจอาหารในชุมชน

 

35 0

18. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารและขนมด้วยวัตถุดิบจากกล้วย เพื่อผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และฝึกปฏิบัติการเรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตขนมกล้วย ณ บริษัทสยามบานาน่า จำกัด และรวมทั้งการอภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการดำเนินธุรกิจของโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ ตราสิงโต ณ ศูนย์จำหน่ายอาหารของฝากโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ ตราสิงโต จ.กาญจนบุรี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดพัฒนาผลิตผลิตภัณฑ์อาหารโดยใช้กล้วยและถั่วเขียวเป็นวัตถุดิบหลัก โดยได้เรียนรู้หลักการคัดเลือกวัตถุดิบ และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ขนมกล้วย กล้วยทอดปรุงรส วุ้นเส้น และสลิ่ม รวมทั้งได้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อการต่อยอดในธุรกิจอาหาร

 

35 0

19. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9”

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับธุรกิจบรรจุภัณฑ์ และการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับธุรกิจอาหารเสริม พร้อมทั้งเรียนรู้กระบวนการขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ และกระบวนการผลิตดื่มในภาชนะบรรจุปิดสนิท โดยเริ้มตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ณ บริษัท ซัพพอร์ทแพค จำกัด จ.สมุทรปราการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ธุรกิจอาหาร ธุรกิจอาหารเสริม และธุรกิจน้ำดื่มในภาชนะบรรจุปิดสนิท รวมถึงได้แนวทางในการดำเนินธุรกิจภายใต้การดำเนินงานการผลิตจากบริษัท Original Equipment Manufacturing (OEM) เพื่อต่อยอดในธุรกิจอาหาร

 

37 0

20. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร"

วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง หลักการสุขาภิบาลในการผลิตอาหาร ได้แก่ สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดีของพนักงานผู้ผลิตอาหาร และการทำความสะอาดในส่วนของไลน์การผลิต และอภิปราย เรื่อง กระบวนการฆ่าเชื้อระหว่างการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร และมาตรฐานการผลิตอาหาร ณ  บริษัทอายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด โรงงานหนองแค จ. สระบุรี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร และได้แนวทางในการประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการต่อยอดพัฒนาผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร เพื่อการต่อยอดในธุรกิจอาหาร ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ผงปรุงรส (รสดี) และเครื่องดื่มบรรจุกระป๋องสำเร็จรูป (กาแฟเบอร์ดี) โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการคัดเลือกวัตถุดิบ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพและมาตรฐาน การตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการบรรจุ ตลอดจนการจัดจำหน่ายสินค้า

 

35 0

21. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการะูรกิจอาหาร”

วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฏิบัติการ เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารในการผลิตขนมเบเกอร์รี่ประเภทนึ่ง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เค้กกล้วยหอมนึ่ง และผลิตภัณฑ์ขนมปุยฝ้ายนึ่ง โดยเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบกล้วยหอมที่เหมาะสมสำหรับการนำมาผลิตผลิตภัณฑ์เค้กกล้วยหอมนึ่ง การล้างทำความสะอาดวัตถุดิบ กระบวนการผลิต เทคนิคการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการบรรจุผลิตภัณฑ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบธุรกิจอาหาร และได้ประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และเป็นการต่อยอดธุรกิจอาหาร ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เค้กกล้วยหอมนึ่ง และขนมปุยฝ้ายนึ่ง โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการคัดเลือกวัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดิบ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพและมาตรฐาน การตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการบรรจุ รวมถึงสุขลักษณะที่ดีในการปฏิบัติงานของผู้ผลิตอาหาร

 

35 0

22. การประยุกต์ใช้หลักการ Business Model Canvas ร่วมกับหลักการการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบธุรกิจอาหาร

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมโครงการได้อภิปรายร่วมกับวิทยากร เรื่อง การประยุกต์ใช้หลักการ Business Model Canvas ร่วมกับหลักการสุขาภิบาลอาหารในการดำเนินธุรกิจอาหาร โดยวิทยากรได้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำหลักการ Business Model Canvas มาวิเคราะห์เพื่อเป็นแนวทางและการวางแผนในการดำเนินงานธุรกิจอาหาร และได้จัดพิธีปิดโครงการอบรมหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) พร้อมมอบประกาศนียบัตรให้กับผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร ฯ โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุวลักษณ์  เวชวิทยาขลัง อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เป็นประธานกล่าวปิดโครงการและมอบประกาศนียบัตรให้แก่ผู้อบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับคามรู้ความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้หลักการ Business Model Canvas ร่วมกับหลักการสุขาภิบาลอาหารในการดำเนินธุรกิจอาหาร รวมทั้งสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อรองรับการแปรรูปอาหารในภาคอุตสาหกรรมและการขยายตลาดด้านผลิตภัณฑ์อาหารของชุมชนได้

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ หลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร  ประกาศนียบัตร (Non Degree) (2) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5 (3) จัดซื้อวัสดุเฉพาะทาง สำหรับฝึกปฏิบัติสุขาภิบาลอาหาร (4) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5 (5) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5 (6) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5 (7) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 1-5 (8) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9 (9) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9 (10) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9 (11) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร “การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร” ประกาศนียบัตร (Non Degree) ครั้งที่ 6-9 (12) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5” (13) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5” (14) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5” (15) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5” (16) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 1-5” (17) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9” (18) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9” (19) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9” (20) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับการเรียนรู้ร่วมกับสถานประกอบการ ครั้งที่ 6-9” (21) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร" (22) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การประยุกต์ใช้หลักการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการะูรกิจอาหาร” (23) การประยุกต์ใช้หลักการ Business Model Canvas ร่วมกับหลักการการสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบธุรกิจอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การสุขาภิบาลอาหารสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร จังหวัด

รหัสโครงการ FN65/0130

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด